Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27721
Title: การเปรียบเทียบความคงทนในการจำในวิชาไฟฟ้า ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรพิเศษวิชาการศึกษา ที่เรียนด้วยภาพภ่ายของจริงและภาพถ่ายไดอะแกรม
Other Titles: A comparison of retention on electricity subject of students at the education certificate level learning by photographs of real object and photographs of diagram
Authors: อร่าม คุ้มทรัพย์
Advisors: วิรุฬห์ มังคละวิรัช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2526
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบความคงทนในการจำในวิชาไฟฟ้าของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรพิเศษวิชาการศึกษาที่เรียนด้วยภาพถ่ายของจริงและภาพถ่ายไดอะแกรม วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรพิเศษวิชาการศึกษา แบ่งตัวอย่างประชากรออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลองศึกษาจากภาพถ่ายไดอะแกรมและกลุ่มควบคุมศึกษาจากภาพถ่ายของจริง สรุปผลการวิจัย ผลการเรียนที่วัดผลทันทีของกลุ่มทดลองที่ศึกษาจากภาพถ่ายไดอะแกรมและกลุ่มควบคุมที่ศึกษาจากภาพถ่ายของจริง มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับผลของความคงทนในการจำทั้ง 2 ระยะ คือวัดผลหลังจากเรียนจบแล้ว 1 สัปดาห์ และ 2 สัปดาห์ ตามลำดับ ปรากฏว่ากลุ่มที่เรียนด้วยภาพถ่ายไดอะแกรมมีความคงทนในการจำดีกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยภาพถ่ายของจริงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Other Abstract: Purpose To compare the retention on electricity subject of students at the education certificate level learning by photographs of real object and photographs of diagram Procedure . 1. The subjects were 50 inservice teachers from various provinces who attended the 400 hr. Science Course. 2. The subjects were divided into two groups by equate method: Photographs of diagram were utilized for experimental group and photographs of real object were utilized for control group. Result 1. The result of immediate recall indicated that were not any significant differences between the experimental group learning by photographs of real object. 2. The result indicated that the score of retention test one week after and two weeks after of the experimental group was better than the control group and was significant difference at the .05 level.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: โสตทัศนศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27721
ISBN: 9745623431
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aram_Ko_front.pdf363.49 kBAdobe PDFView/Open
Aram_Ko_ch1.pdf385.06 kBAdobe PDFView/Open
Aram_Ko_ch2.pdf724.96 kBAdobe PDFView/Open
Aram_Ko_ch3.pdf330.89 kBAdobe PDFView/Open
Aram_Ko_ch4.pdf311.51 kBAdobe PDFView/Open
Aram_Ko_ch5.pdf345.1 kBAdobe PDFView/Open
Aram_Ko_back.pdf956.33 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.