Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28118
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายวรุฬ ชัยวานิชศิริ-
dc.contributor.advisorพัชรี ปานกุล-
dc.contributor.advisorวรรณา ตุลยธัญ-
dc.contributor.authorรัตน์จิกา ชานะมัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-12-25T06:02:06Z-
dc.date.available2012-12-25T06:02:06Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745814083-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28118-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกรดแอสคอร์บิกและโซเดียมอิริธอร์เบทต่อการละลาย ดีบุก และคุณภาพของสับปะรดที่บรรจุในกระป๋องชนิดต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางในการลดการละลายของดีบุก ในสับปะรดกระป๋อง โดยใช้สับปะรดชิ้นคละบรรจุในน้ำสับปะรดที่เติมกรดแอสคอร์บิก 700 ppm หรือ โซเดียมอิริธอร์เบท 700 ppm หรือกรดแอสคอร์บิกร่วมกับโซเดียมอิริธอร์เบทอย่างละ 350 ppm บรรจุ ในกระป๋องที่ไม่ได้เคลือบแลกเกอร์ กระป๋องที่เคลือบแลกเกอร์ epoxy phenolic ชั้นเดียว และกระป๋องที่เคลือบแลกเกอร์ epoxy phenolic สองชั้น เก็บที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 12 เดือน วิเคราะห์ หาปริมาณกรดแอสคอร์บิก, ไฮดรอกซีเมทธิลเฟอร์ฟิวรอล (HMF), ดีบุก, และทดสอบทางประสาทสัมผัสด้านสี กลิ่น รสชาติ และเนื้อสัมผัสของสับปะรดกระป๋อง จากผลการทดลองพบว่าการเติมกรดแอสคอร์บิก และ/หรือโซเดียมอิริธอร์เบททำให้คณภาพของ สับปะรดกระป๋องแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ในกระป๋องทั้งสามชนิด โดยสับปะรดที่เติมกรดแอสคอร์บิกมีอัตราการลดลงของกรดแอสคอร์บิกที่เหลืออยู่ และมีปริมาณดีบุกที่ละลาย ออกมาจากกระป๋องมากที่สุด แต่มีปริมาณของ HMF ต่ำที่สุด เมื่อเก็บสับปะรดกระป๋องทั้งสามชนิดไว้ที่ อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 12 เดือน พบว่าดีบุกที่ละลายออกมามีปริมาณเพิ่มขึ้น โดยมีปริมาณสูงสุด 130 ppm ในกระป๋องไม่ได้เคลือบแลกเกอร์ และจากการทดสอบทางประสาทสัมผัสพบว่าสับปะรดที่เติมกรดแอสคอร์บิก มีคุณภาพดีกว่าสับปะรดที่ไม่ได้เติมกรดแอสคอร์บิก แต่กระป๋องเคลือบแลกเกอร์ให้กลิ่นและรสชาติที่แปลกปลอมซึ่งเป็นที่ไม่ยอมรับหลังจากเก็บนาน เกิน 6 เดือน ดังนั้นกระป๋องเคลือบแลกเกอร์ จึงใช้บรรจุสับปะรดได้ ในเวลา 6 เดือน หากเก็บนานกว่านควรใช้กระป๋องทีไม่ได้เคลือบแลกเกอร์-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the effect of ascorbic acid and sodium erythorbate to the dissolving of tin content and the quality of pineapple in the different types of can. Mixed pieces pineapple was mixed with its juice and ascorbic acid 700 ppm or sodium erythorbate 700 ppm or combination of both additives 350 ppm each and canned in plain cans, one- layer epoxy phenolic lacquered cans, and double-layer epoxy phenolic lacquered cans. The canned pineapple was chemically analyzed for the contents of ascorbic acid, hydroxy methylfurfural (HMF), and tin, and was organoleptically evaluated for color, odor, flavor, and texture during the storage at room temperature for 12 months. The results showed that addition of ascorbic acid and/or sodium erythorbate significally (p ≤ 0.05) improved the quality of pineapples in all three types of can. The samples with ascorbic acid had the highest rate of ascorbic acid destruction and tin dissolving and the lowest HMF formation. The tin content in the canned pineapple increased with time with the maximum amount of 130 ppm found in plain can. From the organoleptic evaluation, it was found that pineapples canned in lacquered cans gave the off-odor and off-flavor of lacquer after six-month storage while those in plain can were still acceptable. Therefore, lacquered cans were suitable for canned pineapples storing upto 6 months and for longer storage the plain cans should be used instead.-
dc.format.extent6201962 bytes-
dc.format.extent1539992 bytes-
dc.format.extent5801463 bytes-
dc.format.extent1297509 bytes-
dc.format.extent26978095 bytes-
dc.format.extent659183 bytes-
dc.format.extent21626653 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของกรดแอสคอร์บิกและโซเดียมอิริธอร์เบทต่อการละลายของดีบุกจากกระป๋องชนิดต่างๆ ที่ใช้บรรจุสับปะรดen
dc.title.alternativeEffects of ascorbic acid and sodium erythorbate on detinning of various types of cans in canned pineappleen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ratjika_ch_front.pdf6.06 MBAdobe PDFView/Open
Ratjika_ch_ch1.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Ratjika_ch_ch2.pdf5.67 MBAdobe PDFView/Open
Ratjika_ch_ch3.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Ratjika_ch_ch4.pdf26.35 MBAdobe PDFView/Open
Ratjika_ch_ch5.pdf643.73 kBAdobe PDFView/Open
Ratjika_ch_back.pdf21.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.