Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28147
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์-
dc.contributor.advisorนันทรัตน์ เจริญกุล-
dc.contributor.authorสรินทร เชี่ยวโสธร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2012-12-26T04:38:27Z-
dc.date.available2012-12-26T04:38:27Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28147-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์สำหรับสถาบัน อุดมศึกษาสังกัดกองทัพบก ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนาประกอบด้วย 6 ขั้นตอนคือ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ ของรูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์สำหรับสถาบันอุดมศึกษาสังกัดกองทัพบก 3 สถาบันได้แก่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฏเกล้า และวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก 2) ร่างรูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์แบบบูรณาการพร้อมคู่มือการใช้ 3) ส่งร่างรูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์แบบบูรณาการพร้อมคู่มือการใช้ฉบับที่ 1 ให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความเหมาะสม 4) ปรับปรุงรูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์แบบบูรณาการพร้อมคู่มือการใช้ 5) นำร่างรูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์แบบบูรณาการพร้อมคู่มือการใช้ฉบับที่ 2 ไปทดลองใช้ที่วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก และ 6) ปรับปรุงรูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์แบบบูรณาการพร้อมคู่มือการใช้ ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของรูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์สำหรับสถาบันอุดมศึกษาสังกัดกองทัพบกตรงกับรูปแบบเดลต้า (The Delta Model ของ Hax and Wilde II, 2003) มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบันเท่ากับ 3.71 และค่าเฉลี่ยสภาพพึงประสงค์เท่ากับ 4.56 รูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่พัฒนาขึ้น คือรูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์แบบ บูรณาการ (The Integrative Strategic Management Model : ISM Model) มีลักษณะเฉพาะ 7 ประการคือ 1) ใช้กระบวนการเชิงบูรณาการแบบสามเส้า 2) ใช้การมีส่วนร่วม 3) ใช้กระบวนการบริหารอย่างเป็นพลวัตที่มีพลังความคิดใหม่และต่อเนื่อง 4) ใช้ระบบข้อมูลในการบริหาร 5) ใช้การวิจัยและพัฒนา 6) ใช้กระบวนการคุณภาพ และ 7) ใช้กระบวนการปรับแต่ง และมีองค์ประกอบ 3 ส่วนได้แก่ ส่วนที่ 1 การวางแผนยุทธศาสตร์แบบสามเส้า ส่วนที่ 2 การนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติและการประเมินผลอย่างเป็นพลวัตที่มีพลังความคิดใหม่และต่อเนื่อง และ ส่วนที่ 3 กระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to develop a strategic management model for higher education institutions under the Royal Thai Army. The research and development method was used in this study including 6 phases: 1) To examine the present and desired stages of the strategic model for three higher education institutions including Chulachomklao Royal Military Academy. Royal Thai Army Nursing College. Phramongkutklao College of Medicine. 2) To outline the integrative strategic management model and to create the operational manual. 3) To send the 1st draft of the integrative strategic management model and the operational manual to validate a by experts. 4) To improve the integrative strategic management model and the operational manual. 5) To test 2nd draft, the integrative strategic management model, and the operational manual at the Royal Thai Army Nursing College. 6) To improve the final model, integrative strategic management model, and the operational manual. The results revealed that the present and desired stages of the strategic management model for the higher education institutions under the Royal Thai Army is The Delta Model (Hax and Wilde II, 2003). The mean score of present stages was 3.71 and the desired stages was 4.56 The developed strategic management model for higher education institutions was The Integrative Strategic Management Model (ISM Model). There were 7 characteristics: 1) Using the triangle integrative process. 2) Using participation. 3) Using the dynamic and continuous of the management process. 4) Using the management information system. 5) Using the research and development. 6) Using the quality process of the plan-do-study-act cycle. 7) Using the adaptive processes. The model has three components: 1) planning by using the triangle strategic formulation, 2) operating and evaluating by using the dynamics and continuous strategic implementation and evaluation, and 3) driving processes.en
dc.format.extent2758020 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1460-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกองทัพบกไทยen
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- ไทยen
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- การวางแผน -- ไทยen
dc.titleรูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์สำหรับสถาบันอุดมศึกษาสังกัดกองทัพบกen
dc.title.alternativeA strategic management model for higher education institutions under the Royal Thai armyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPruet.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNantarat.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1460-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sarintorn_ch.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.