Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28163
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาริษา พงศ์พฤฒิพันธ์ | - |
dc.contributor.author | ณัฐพร โรจน์อารยานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-12-26T08:10:52Z | - |
dc.date.available | 2012-12-26T08:10:52Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28163 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en |
dc.description.abstract | ที่มา: สิวอักเสบเป็นโรคที่พบได้บ่อยในคลินิกโรคผิวหนังและมีผู้ป่วยโรคสิวจำนวนมากที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาโดยวิธีมาตรฐานและต้องการการรักษาที่ได้ผลเร็ว การศึกษานี้ได้ใช้เลเซอร์เออร์เบียมแย้กความยาวคลื่น 2940 นาโนเมตร ที่สามารถทำให้เกิดความร้อนในผิวหนังและมีการลอกของผิวหนังชั้นบนมารักษาสิวอักเสบและอาจลดสิวอุดตันได้ โดยเป็นการศึกษาแรกที่มีการสุ่มและมีกลุ่มควบคุม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการรักษาสิวอักเสบบริเวณใบหน้าด้วยเลเซอร์เออร์เบียมแย้ก เปรียบเทียบกับการทายาเบนซิลเปอร์ออกไซด์เจลความเข้มข้น 2.5เปอร์เซนต์ (เบนซิลเปอร์ออกไซด์เจล)วิธีการศึกษา:อาสาสมัครผู้มีสิวอักเสบบริเวณใบหน้าระดับความรุนแรงน้อยถึงปานกลาง จำนวน 20 ราย ได้รับการสุ่มให้ใบหน้าด้านหนึ่งได้รับการรักษาด้วยเออร์เบียมแย้ก ทุก 2 สัปดาห์รวม 3ครั้ง ส่วนใบหน้าอีกด้านได้รับการรักษาโดยใช้ยาเบนซิลเปอร์ออกไซด์เจลทา 2 ครั้ง ประเมินผลการรักษาโดยทำการนับจำนวนสิวอักเสบและสิวอุดตันที่สัปดาห์ที่ 0, 2, 4, 6 และ 10 ประเมินผลการรักษาจากภาพถ่ายโดยแพทย์ผิวหนัง 3 ท่าน นอกจากนี้ได้บันทึกผลข้างเคียงจากการรักษาและประเมินความพึงพอใจโดยอาสาสมัคร ผลการศึกษา: ที่ 2 สัปดาห์หลังการรักษาครั้งแรก เลเซอร์เออร์เบียมแย้กสามารถลดจำนวนสิวอักเสบได้ร้อยละ 16.95 ขณะที่ด้านที่ทายามีสิวอักเสบเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.42 (p- value = 0.043) เมื่อทำเลเซอร์ครบ 3 ครั้ง พบว่าผลการรักษาสิวอักเสบทั้งสองวิธีไม่แตกต่างกัน อาสาสมัครมีความพึงพอใจต่อการรักษาสิวอักเสบและรอยแผลเป็นชนิดหลุมด้วยเลเซอร์มากกว่าทายา ผลข้างเคียงหลังทำเลเซอร์มีความรุนแรงน้อยและหายได้เองภายใน 14 วัน สรุปผล: เลเซอร์เออร์เบียมแย้กมีประสิทธิภาพในการรักษาสิวอักเสบระดับความรุนแรงน้อยถึงปานกลางได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย แต่ไม่สามารถรักษาสิวอุดตันได้ | en |
dc.description.abstractalternative | Objectives: To evaluate the effectiveness and safety of Er:YAG laser for the treatment of inflammatory acne in comparison to 2.5% benzoyl peroxide (BP) gel. Methods and materials: Twenty subjects with mild to moderate acne vulgaris were included. One side of the face is randomly selected to treat with 3 laser treatments in 2-weeks interval and the other was treated with 2.5% BP gel. Lesions counts and photo were taken at baseline, week 2, 4, 6 and 10. Three blinded-dermatologists evaluated the photographic clinical changes. Patient satisfaction and adverse events were recorded. Results: At week 2, laser-treated side has statistically difference in inflammatory acne lesion count reduction (16.95%) while BP gel had 2.42% increase (p-value = 0.043). But the difference did not persist after subsequent treatments. Photographic clinical assessment at week 6 showed more improvement of inflammatory acne on laser-treated side comparing to BP gel (p-value = 0.047). Comedone count was not statistically difference between two groups. Patients were more satisfied with result of Er:YAG laser than BP gel for inflammatory acne and acne scars. Adverse events were mild and resolved within 14 days. Conclusions: Er:YAG laser showed immediate result, as effective and safe in treating active inflammatory acne but ineffective for comedonal treatment. | en |
dc.format.extent | 7725459 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1474 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สิว -- การรักษา | en |
dc.subject | ต่อมไขมัน -- โรค | en |
dc.subject | แสงเลเซอร์ทางการแพทย์ | en |
dc.subject | โซลิดเสตทเลเซอร์ -- การใช้รักษา -- ประสิทธิผล | en |
dc.title | การศึกษาแบบสุ่มเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเลเซอร์เออร์เบียมแย้กความยาวคลื่น 2940 นาโนเมตรกับเบนซิลเปอร์ออกไซด์เจลความเข้มข้น 2.5 เปอร์เซนต์ในการรักษาสิวอักเสบ | en |
dc.title.alternative | A randomized controlled trial comparing efficacy of 2940 nanometer Er:YAG laser to 2.5% benzoyl peroxide gel for the treatment of inflammatory acne | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | dr_marisa@yahoo.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.1474 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
nattaporn_ro.pdf | 7.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.