Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2820
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรรณี ชิโนรักษ์ | - |
dc.contributor.advisor | เรืองวิทย์ บรรจงรัตน์ | - |
dc.contributor.author | อภิรดี ศรีภูมิ, 2518- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-09-25T11:15:34Z | - |
dc.date.available | 2006-09-25T11:15:34Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9741707428 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2820 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาคาริโอไทป์ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเซลล์เม็ดเลือดขาวของสัตว์บางชนิดใน วงศ์ วิเวอร์ริดี พบว่าในวงศ์ย่อย Paradoxurinae ได้แก่ อีเห็นเครือ (Paguma larvata (Smith) 1827) อีเห็นข้างลายหรือธรรมดา (Paradoxurus hermaphroditus (Pallas) 1777) หมีขอหรือบินตุรง (Arctictis binturong (Raffles) 1821) และอีเห็นหน้าขาวหูด่าง (Arctogalidia trivirgata (Gray) 1832) มีโครโมโซมคอมพลีเมนท์ 2n = 44 42 42 และ 40 ตามลำดับ เป็นโครโมโซมชนิดเมตาเซนตริก ซับเมตาเซนตริก ซับเทโลเซนตริกและเทโลเซนตริก เท่ากับ 7 11 10 16 , 5 13 10 14, 5 13 6 18 และ 9 11 6 14 แท่ง ตามลำดับ และในวงศ์ย่อย Viverrinae ได้แก่ ชะมดแผงสันหางดำ (Viverra megaspila Blyth 1862) ชะมดแผงหางปล้อง (Viverra zibetha Linnaeus 1758 ) และ ชะมดเช็ด (Viverricula indica Desmarest 1817) มีโครโมโซมคอมพลีเมนท์ 2n = 38 38 และ 36 ตามลำดับ เป็นโครโมโซมชนิดเมตาเซนตริก ซับเมตาเซนตริก ซับเทโลเซนตริกและเทโลเซนตริก เท่ากับ 10 13 10 5, 10 12 12 4 และ 10 13 10 3 แท่ง ตามลำดับ พบว่าสัตว์ที่ศึกษาทุกชนิดดังกล่าวมี satellite marker chromosome และเมื่อศึกษาการย้อมสีโครโมโซมแบบแถบสีจีของสัตว์ในวงศ์นี้ทั้ง 7 ชนิดพบว่ารูปแบบของแถบสีในโครโมโซมแต่ละแท่ง แตกต่างกันทั้งจำนวนและตำแหน่งของแถบสี | en |
dc.description.abstractalternative | Karyotypic studies of some animal species in the family Viverridae were conducted using the lymphocyte culture technique. It was found that the masked palm civet [Paguma larvata (Smith) 1827], the common palm civet [Paradoxurus hermaphroditus (Pallas) 1777], the binturong [Arctictis binturong (Raffles) 1821], and three-striped palm civet [Arctogalidia trivirgata (Gray) 1832], which are in the subfamily Paradoxurinae, had chromosome complements of 2n = 44, 42, 42 and 40, respectively. In each animal, the numbers of metacentric, submetacentric, subtelocentric and telocentric chromosome were 7-11-10-16, 5-13-10-14, 5-13-6-18 and 9-11-6-14, respectively. Animals from the subfamily Viverrinae, namely the large-spotted civet [Viverra megaspila Blyth 1862], the large Indian civet [Viverra zibetha Linnaeus 1758] and the small Indian civet [Viverricula indica Desmarest 1817] were found to have chromosome complements of 2n = 38, 38 and 36, respectively, and numbers of metacentric, submetacentric, subtelocentric and telocentric chromosome of 10-13-10-5, 10-12-12-4 and 10-13-10-3, respectively. In all species studied, satellite marker chromosomes were consistently detected. Besides the conventional stain, G-banding techniques are also developed. It was found that there are differences in numbers and locations of G-band in each species. | en |
dc.format.extent | 8954113 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คาริโอไทป์ | en |
dc.subject | วิเวอร์ริดี | en |
dc.subject | เซลล์พันธุศาสตร์ | en |
dc.title | คาริโอไทป์ของสัตว์บางชนิดในวงศ์ วิเวอร์ริดี | en |
dc.title.alternative | Karyotypes of some species in the family Viverridae | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | พันธุศาสตร์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Ruengwit.B@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Apiradee.pdf | 6.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.