Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28242
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชิต คนึงสุขเกษม-
dc.contributor.advisorชัชชัย โกมารทัต-
dc.contributor.authorนริศรา หาหอม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-01-01T04:43:26Z-
dc.date.available2013-01-01T04:43:26Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28242-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบโปรแกรมการบริหารสมอง เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกลไกและความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครซึ่งนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 128 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 2 กลุ่มๆ ละ 31 คน โดยใช้วิธีการจัดเข้ากลุ่มใช้ผลจากการทดสอบสมรรถภาพทางไกลไกและผลการทดสอบความคิดสร้างสรรค์ ผู้วิจัยดำเนินการทดลองเป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 วัน วันละ 50 นาที ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกลไกและความคิดสร้างสรรค์ กับกลุ่มตัวอย่าง 4 กลุ่ม โดยใช้การทดสอบค่าที กำหนดระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. รูปแบบโปรแกรมการบริหารสมองเพื่อเสริมสร้างความสามารถทางกลไกและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษา มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.0 2. หลังการทดลอง 8 สัปดาห์ สมรรถภาพทางกลไกและความคิดสร้างสรรค์ของกลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่ม ดีกว่าก่อนการทดลองในทุกตัวแปร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. หลังการทดลอง 8 สัปดาห์ กลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 มีสมรรถภาพทางกลไกและความคิดสร้างสรรค์สูงกว่า กลุ่มควบคุมทุกตัวแปร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research was to develop a brain exercise program to promote motor fitness and creativity of elementary school students. Samples in this study were 128 volunteer fourth grade students, allocated by the result of motor fitness and creativity tests into 2 experimental groups and 2 control groups with 31 subjects in each group. The experimental periods were 8 weeks with 2 days per week and 50 minutes per day. The inferential statistics was employed for hypotheses testing by using “t–test” at the level of the statistical significance at .05. It was found that: 1. A brain exercise program was validated with the index of congruence at 1.0 2. After 8 weeks, motor fitness and creative thinking of both experimental groups were better than before training at the significant level of .05. 3. After 8 weeks, motor fitness and creative thinking of both experimental groups were developed better than both control groups in all variables at the significant level of .05.en
dc.format.extent2747107 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1505-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทฤษฎีสรรคนิยมen
dc.subjectการเคลื่อนไหวของมนุษย์en
dc.subjectสมรรถภาพทางสมองen
dc.subjectระดับสติปัญญาen
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ในเด็กen
dc.subjectการละเล่นen
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาen
dc.subjectConstructivism (Education)en
dc.subjectHuman mechanicsen
dc.subjectCreative thinking in childrenen
dc.subjectIntelligence levelsen
dc.subjectElementary studentsen
dc.titleการพัฒนารูปแบบโปรแกรมการบริหารสมองเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกลไกและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาen
dc.title.alternativeThe development of a brain exercise program model to enhance motor fitness and creative thinking for elementry school studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVijit.k@chula.ac.th-
dc.email.advisorChuchchai.G@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1505-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
narisra_ha.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.