Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28536
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | หลุย จำปาเทศ | |
dc.contributor.advisor | อุ่นใจ แววศร | |
dc.contributor.author | เอมอร รตินธร | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-01-18T03:38:55Z | |
dc.date.available | 2013-01-18T03:38:55Z | |
dc.date.issued | 2533 | |
dc.identifier.isbn | 9745792519 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28536 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของการใช้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวของโรเจอร์ส ที่มีต่อการพัฒนาการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาของหญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์ครั้งแรกโดยมีสมมติฐานว่า หญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์ที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มจะมีคะแนนการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาสูงกว่าคะแนนที่วัดได้ก่อนการเข้ากลุ่มและสูงกว่าคะแนนของกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์แรกที่มาฝากครรภ์กับหน่วยฝากครรภ์ แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลศิริราช ซึ่งมีคะแนนที่ได้จากแบบวัดการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาต่ำกว่าค่าเฉลี่ยลบ 0.5 ของค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมัครใจเข้าร่วมการวิจัย จำนวน 20 คน นำมาสุ่มเลือกแบ่งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน กลุ่มทดลองเข้าร่วมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวของโรเจอร์ส สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง 8 สัปดาห์ติดต่อกัน รวมทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง โดยมีผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัย ทำหน้าที่เป็นผู้นำกลุ่มร่วมกัน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดสอบแบบมีกลุ่มควบคุมทดสอบก่อนและหลังการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ (1) แบบวัดการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และ (2) แบบประเมินผลการเข้ากลุ่ม ผู้วิจัยได้ทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ย ในครั้งทดสอบก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยการทดสอบค่าที ( t – test) ผลการวิจัยพบว่าหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มมีคะแนนจากแบบวัดการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาครั้งหลังการทดลองสูงกว่าครั้งก่อนการทดลอง และสูงกว่าคะแนนของกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the use of Rogerain group counseling in promoting adjustment to maternal role among adolescent first preganancy. The hypothesis was that the posttest scores of the Adjustment to Maternal Role inventory (AMRI) in the experimental group would be higher than their pretest scores and that the post test scores of the experimental group would be higher than the posttest scores of the control group. The sample included 20 volunteer adolescents pregnant for the first time who attended the antenatal clinic of Siriraj Hospital and scored one half standard deviation below the mean on AMRI. The subject were randomly as to an experimental group and a control group, each group comprising 10 adolescents. The experimental group participated in Rogerian group counseling sessions for 8 weeks, each session lasting 2 hours, totaling 16 hours under the leadership of the researcher and a research assistant. In this research, the pretest – posttest control group design was used. The instrument used were : 1. The Adjustment to Maternal Role Inventory Constructed by the researcher 2. a questionnaire for the subjects to evaluate the experience in the group. Deviations from the mean in the pretests and posttests of both groups were analysed by using the t – test. Results show that the posttest scores of the experimental group were higher than their pretest scores at the .01 level of significance and that the posttest scores of the experiment group were higher than the posttest scores of the control group at the .01 level of significance. | |
dc.format.extent | 5126527 bytes | |
dc.format.extent | 28837130 bytes | |
dc.format.extent | 6816274 bytes | |
dc.format.extent | 1940089 bytes | |
dc.format.extent | 7945341 bytes | |
dc.format.extent | 1730540 bytes | |
dc.format.extent | 32208327 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การใช้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวของโรเจอร์ส เพื่อพัฒนาการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดา ของหญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์ครั้งแรก | en |
dc.title.alternative | The use of rogerian counseling for promoting the adjustment to maternal role in adolescent first pregnancy | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตวิทยา | |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ameorn_ra_front.pdf | 5.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ameorn_ra_ch1.pdf | 28.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ameorn_ra_ch2.pdf | 6.66 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ameorn_ra_ch3.pdf | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ameorn_ra_ch4.pdf | 7.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ameorn_ra_ch5.pdf | 1.69 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ameorn_ra_back.pdf | 31.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.