Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28606
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภชัย ยาวะประภาษ-
dc.contributor.authorภัสนันท์ พ่วงเถื่อน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-01-22T03:52:22Z-
dc.date.available2013-01-22T03:52:22Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28606-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาแหล่งที่มาวัฒนธรรมองค์การขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดวัฒนธรรมองค์การและอธิบายรูปแบบวัฒนธรรมองค์การที่เกิดขึ้นจากการได้รับอิทธิพลตามแหล่งที่มานั้น โดยอาศัยการสืบค้นวัฒนธรรมองค์การตามแนวคิดของเอ็ดการ์ ชายน์เป็นหลัก ผลการวิจัยพบว่า 1) แหล่งที่มาวัฒนธรรมองค์การของอบจ.ที่ประกอบด้วย สภาพสังคมและเศรษฐกิจของจังหวัด นโยบายและระเบียบของรัฐ โครงสร้างอำนาจและการเมืองท้องถิ่น ผู้ก่อตั้งและผู้บริหารรุ่นต่อมา และประสบการณ์การทำงานร่วมกันของสมาชิก แต่ละแหล่งที่มาส่งผลต่ออบจ.แตกต่างกันโดยผู้ก่อตั้งและผู้บริหารรุ่นต่อมาเป็นแหล่งที่มาที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมองค์การของอบจ.มากที่สุด 2) อิทธิพลจากแต่ละแหล่งที่มาดังกล่าวทำให้อบจ.ชลบุรีมีวัฒนธรรมองค์การระดับฐานคติในแบบความมั่นคงปลอดภัยในหน้าที่ ส่วนอบจ.ระยองมีรูปแบบการปรับตัวเพื่อดำรงสถานะ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสำคัญต่อการก่อเกิดวัฒนธรรมองค์การอย่างมากจึงควรมีภาวะผู้นำในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมองค์การและสามารถปรับวัฒนธรรมองค์การให้เหมาะสมต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์การen
dc.description.abstractalternativeThis study was conducted using qualitative methodology to explore the sources of organizational culture of Provincial Administrative Organization (PAO) that influences the formation of organizational culture, and explain organizational culture according to those sources by using Edgar H. Schein’s interpretation and levels of organizational culture. The findings are as followed; 1) The sources of organizational culture of PAO. are the socioeconomic condition of the province, the policies and regulations of the state, the power structure and local politics, the founder and the next generation administrators, and shared experience of all members. Each source has significant impact on organizational culture in different ways and the study indicated that the founder and the next generation administrators is the most-influential source. 2) Influences from the above mentioned source make Chonburi PAO to have stability and security of function type at the basic assumption level, while Rayong PAO has adaptability for sustaining its position type. From these findings, it shows that the administrators of PAOs is extremely important in the forming of organizational culture; as a result, they should have leadership ability to innovate organizational culture and should be able to adapt organizational culture to be suitable for achieving organizational goals.en
dc.format.extent32709092 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1538-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การen
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดen
dc.subjectภาวะผู้นำen
dc.subjectผู้บริหารen
dc.titleวัฒนธรรมองค์การขององค์การบริหารส่วนจังหวัด : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสองแห่งในภาคตะวันออกen
dc.title.alternativeOrganizational culture of provincial administrative organization : case studies of two provincial administrative organizations in the Eastern regionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineรัฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupachai.Y@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1538-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
passanan_ph.pdf31.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.