Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28614
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรุณี อ่อนสวัสดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยนเรศวร
dc.date.accessioned2013-01-22T08:21:07Z
dc.date.available2013-01-22T08:21:07Z
dc.date.issued2538
dc.identifier.citationวารสารวิธีวิทยาการวิจัย. 7,1(ม.ค.-มิ.ย. 2538),83-97en
dc.identifier.issn0857-2933
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28614
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาวิธีวัดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ในสถานการณ์ที่มีการสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และเปรียบเทียบคุณภาพของวิธีวัดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ที่พัฒนากับวิธีหาความแตกต่างระหว่างคะแนนจริง วิธีหาค่าความแตกต่างระหว่างความสามารถ วิธีหาความแตกต่างระหว่างคะแนนดิบ และวิธีวัดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของลอร์ด ในการพัฒนาได้อาศัยทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูมและคำนึงถึงอิทธิพลเพดาน 4 แนวคิด แต่ละแนวคิดมีทางปฏิบัติเป็น 2 แนวทาง แนวทางหนึ่ง วัดด้วยค่าประมาณคะแนนจริง ส่วนอีกแนวทางหนึ่ง วัดด้วยคะแนนดิบ ผู้วิจัยจึงเสนอวิธีวัดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ได้ 8 วิธี ใช้เทคนิคมอนติดาร์โลในการจำลองปัญหาการวิจัยด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์จุลภาค ในสภาพการเรียนรู้ 3 ลักษณะ (แบบรอบรู้ แบบทั่วไป และแบบกึ่งรองรู้) ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถก่อนเรียนและหลังเรียน 3 ระดับ ( 0.4 0.6 และ 0.8) กลุ่มตัวอย่าง 3 ขนาด (30 50 และ 100 คน) และแบบสอบมีความยาว 3 ระดับ (30 60และ 120 ข้อ) ผลการวิจัยพบว่า 1) วิธีวัดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้แต่ละวิธีมีความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์สูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในเกือบทุกแบบแผนการวิจัย 2) วิธีวัดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้แต่ละวิธี จำแนกอันดับที่ได้สอดคล้องกับวิธีเกณฑ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในทุกแบบแผนการวิจัยและทุกลักษณะการเรียน 3) ทุกวิธีวัดที่ผู้วิจัยพัฒนามีความเที่ยงสูงกว่าวิธีหาความแตกต่างระหว่างคะแนนดิบ และวิธีวัดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของลอร์ดเกินกว่า 74 ครั้งของการการะทำซ้ำ 100 ครั้ง 4) วิธีวัดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ที่อิทธิพลเพดานเป็นผลเนื่องจากสัดส่วนของคะแนนจริงของความแตกต่างระหว่างคะแนนเต็ม และคะแนนหลังเรียน กับคะแนนจริงก่อนเรียน ซึ่งทำการวัดด้วยการประมาณคะแนนจริง มีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานต่ำกว่าวิธีหาความแตกต่างระหว่างคะแนนดิบ เกินกว่า 98 ครั้งของการกระทำซ้ำ 100 ครั้ง
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop the learning change measuring methods in case of having pre-posttesting and to compare their qualities with the true difference score method, difference ability method, gain score method, and Lord's learning change measuring method. Bloom's learning theory and four ideas of ceiling effect were applied in the development. Each idea had two ways out in practice: using estimated true score, and raw score. Thus 8 methods of learning change measuring methods were proposed. Monte Carlo simulation was employed, using micro-computer on three Learning types (mastery, regular and semi-mastery), three pre-post ability correlations (0.4, 0.6 and 0.8), three sample sizes (30, 50 and 100), and three sets of items (30, 60 and 120). The research results revealed that 1) in most of the studied cases, each developed learning change measuring method had highly criterion related validity and statistically significant at .01 level; 2) each developed learning change measuring method could discriminate rank in accordance with the criterion methods and statistically significant at .01 level in all studied cases; 3) each developed learning change measuring method had higher reliability coefficient than gain score method, and Lord's learning change measuring method for more than 76 percent of replications; 4) The method whose ceiling effect was influenced by the proportion of the true score of the difference between full score and posttest score with true pretest score measured by estimated true score had lower standard error of measurement than gain score method for more than 98 percent of replications.
dc.format.extent1201418 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนรู้en
dc.titleการพัฒนาวิธีวัดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้en
dc.typeArticlees
Appears in Collections:Edu - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
083.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.