Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28665
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชรี ทรัพย์มี-
dc.contributor.authorษมาธร พันธุมโพธิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-01-24T09:19:21Z-
dc.date.available2013-01-24T09:19:21Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745674583-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28665-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความสนใจในอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2527 ในกรุงเทพมหานคร โดยจำแนกตามระดับชั้นเรียน เพศของนักเรียน ระดับสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักเรียน อาชีพของบิดา มารดา อาชีพของมารดา ระดับการศึกษาของบิดามารดา รับรายได้ของบิดามารดา และระดับความเข้าใจ ถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะงานที่ทำและความรู้ความสามารถที่จำเป็นต้องใช้ในอาชีพที่นักเรียนสนใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,224 คน เป็นนักเรียนชาย 546 คน และนักเรียนหญิง 678 คน และเป็นนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 934 คน เป็นนักเรียนชาย 279 คน และนักเรียนหญิง 655 คน จากโรงเรียนสารวิทยา โรงเรียนวชิราวุธราชวิทยาลัย โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย โรงเรียน รุจเสรีวิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย โรงเรียนวัดนวลนรดิส โรงเรียนชางตาครู้สคอนแวนต์ โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย และโรงเรียนเขมะสิริอนุสรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความสนใจในอาชีพที่ผู้วิจัยและคณะ ร่วมกันสร้างขึ้น ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลสวนตัวของนักเรียน และแบบสอบ ถามความสนใจในอาชีพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การคำนวณค่าร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สนใจในอาชีพต่างๆ ผลการสำรวจแสดงให้เห็นว่า 1. นักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สนใจ อาชีพหมวดวิชาชีพ วิชาการ มากที่สุดในทั้ง 3 อันดับความสนใจในอาชีพ 2. เมื่อพิจารณารายอาชีพที่นักเรียนสนใจมากที่สุด 5 อันดับแรกของความสนใจใน อาชีพอันดับที่ 1 พบว่า นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สนใจอาชีพ วิศวกร ช่างเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า ทหารแพทย์ และสถาปนิก ตามลำดับ และนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สนใจ ในอาชีพ แพทย์ พยาบาล นักธุรกิจ แอร์โฮสเตส ช่างตกแต่งภายใน เภสัชกร และค้าขาย ตามลำดับ สำหรับนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สนใจอาชีพ วิศวกร ตำรวจ ทหาร นักธุรกิจ และค้าขาย ตามลำดับ และนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สนใจอาชีพ พยาบาล นักธุรกิจ ค่าขาย มัคคุเทศก์ นักบัญชี เลขานุการ และช่างตกแต่งภายใน ตามลำดับ 3. นักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่บิดามารดาประกอบอาชีพในหมวดอาชีพใดก็ตาม นักเรียนจะสนใจอาชีพหมวดวิชาชีพ วิชาการ มากที่สุดในทั้ง 3 อันดับความสนใจในอาชีพ 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีระดับสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน ระดับการศึกษาของบิดามารดา และระดับรายได้ของบิดามารดา ในระดับต่ำปานกลาง และสูง ต่างก็สนใจอาชีพหมวดวิชาชีพ วิชาการมากที่สุดในทั้ง 3 อันดับความสนใจในอาชีพ 5. เมื่อพิจารณาเหตุผลของความสนใจในอาชีพอันดับที่ 1 พบว่า นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้เหตุผลว่าเป็นอาชีพที่รายได้ดี มีค่าตอบแทนสูงมากที่สุด สำหรับนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้เหตุผลว่า เป็นอาชีพที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่น อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติมากที่สุด และนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้เหตุผลว่าเป็นอาชีพที่รายได้ดีมีคำตอบแทนสูง และมีอิสระในการทำงาน 6. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะงานที่ทำและความรู้ความสามารถที่จำเป็นในอาชีพที่นักเรียนสนใจเป็นอันดับที่ 1 ในระดับปานกลาง-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to survey the vocational interests of Mathayom Suksa three and Mathayom Suksa six students in the Bangkok Metropolis for the Academic Year 1984, according to the following variables : class level, sex, students' level of achievement, fathers' occupation, mothers' occupation, parents' level of education, parents' level of income, students' level of proper understanding of job, knowledge and capability required for occupations in which students are interested. The subjects for this survey were 1,224 Mathayom Suksa three students (546 boys and 678 girls) and 934 Mathayom Suksa six students (279 boys and 655 girls), selected from different schools, namely : Sara Vidhaya School, Vajiravudh College, Samsen Vithayalai, Rujisere Vithaya, Triam-Udom Suksa Patanakarn, Watthana Vithayalai Academy, Nuan Noradis, Santa Cruz Convent School, Shinorose Vithayalai, and Khema Siri Anusorn. For data collection, the researcher along with the cooperation from five graduate students collected data through a questionaire developed by themselves. The questionaire consisted of two parts; the first part dealt with students' personal data and the second part dealt with students' vocational interests. Data on vocational interests of Mathayom Suksa three and Mathayom Suksa six students were computerized and analyzed through percentages. The findings of the study are as follows : 1. Both boys and girls in Mathayom Suksa three and six show the highest degree of vocational interest for the first, second and third order of preference in the Professional-Technical occupations. 2. The students' vocational interests for each occupation among Mathayom Suksa three students are as follow : boys are most interested in Engineering, Electrical Technician, Armed Forces, Medicine and Architecture, respectively, whereas girls prefer Medicine, Nursing, Business, Air Hostess, Interior Decoration, Pharmacy and Private business, respectively. For Mathayom Suksa six boy students, they prefer to these occupations : Engineering, Police, Armed Forces, Business ana Private business respectively. Mathayom Suksa six girl students prefer Nursing, Business, private business, Guide Services, Accountancy, Secretaries and Interior Decoration. 3. For all three orders of vocational interests among boys and girls in Mathayom Suksa three and Mathayom Suksa six, with respect to the variables of parental' careers, the subjects also show preferences to the Professional-Technical occupations. 4. In the comparison among the variables of parental levels of education and income and the students1 level of academic achievement, it was shown that Professional-Technical occupations are highly attracted to the students at both levels. 5. When considering reasons for vocational interests, high remunaration appears to be the outstanding reason for boys in Mathayom Suksa three and Mathayom Suksa six ; girls in Mathayom Suksa three indicate devotion to others, to the community, and to the country; whereas girls in Mathayom Suksa six indicate good income and independent work. 6. For vocational interests in the first order of preference, boys and girls for both Mathayom Suksa three and six show a moderate level of proper understandings of the nature of jobs and a moderate level of knowledge of abilities required for those particular occupations.-
dc.format.extent6055635 bytes-
dc.format.extent5802666 bytes-
dc.format.extent13403427 bytes-
dc.format.extent3914803 bytes-
dc.format.extent34574554 bytes-
dc.format.extent4924703 bytes-
dc.format.extent6252790 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการสำรวจความสนใจในอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2527 ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA survey of the vocational interests mathayom suksa three and mathayom suksa six students for the academic year 1984 in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Smartorn_bh_front.pdf5.91 MBAdobe PDFView/Open
Smartorn_bh_ch1.pdf5.67 MBAdobe PDFView/Open
Smartorn_bh_ch2.pdf13.09 MBAdobe PDFView/Open
Smartorn_bh_ch3.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open
Smartorn_bh_ch4.pdf33.76 MBAdobe PDFView/Open
Smartorn_bh_ch5.pdf4.81 MBAdobe PDFView/Open
Smartorn_bh_back.pdf6.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.