Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28669
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPiamsak Menasveta-
dc.contributor.authorSakon Sangpradub-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2013-01-24T09:55:31Z-
dc.date.available2013-01-24T09:55:31Z-
dc.date.issued1990-
dc.identifier.isbn9745791334-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28669-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1990en
dc.description.abstractThis study was carried out to determine the effects of diets, sources and sizes of broodstock on ovarian development and spawning of giant tiger prawn (Penaeus monodon Fabricius). The study was divided into two experiments. Experiment 1 comparatively studied the effects of broodstock sources, i.e. pond-rearded and shallow waters wild-caught p. monodon and different sizes, i.e. large size prawn (weight 120 g) and small size prawn (weight 110 g), on ovarian maturity and reproductive success. Experiment 2 studied the effect of the different diets on ovarian maturity and reproductive success of P. monodon. The three treatment diets were 1. fresh natural diets, 2. conbined diets (fresh natural diets plus artificial diet) and 3. artificial diet. The results showed that large female prawns could undergo' stage IV ovarian maturity and spawning better than the small ones. Both wild-caught and pond-reared females of the same size seemed to undergo comparable maturity and spawning success. The prawns fed with fresh natural diets and those fed with combined diets could undergo comparable stage IV ovarian maturity and spawning success, whereas, the prawns fed merely artificial diet underwent the least stage IV ovarian maturity and spawning. Large females could remature and spawn more frequently than the small ones. The prawns fed with natural diets and the prawns fed with conbined diets could remature and spawn more frequently than those fed with artificial diet. Diets, sources and sizes of broodstocks did not significantly affect the elapsed time between the eye-stalk ablation and the first stage IV ovarian maturity as well as the elapsed time between two consecutive stage IV ovarian maturities. The elapsed time between two consecutive stage IV ovarian maturities was significantly shorter than the elapsed time between the eye- stalk ablation and the first stage IV ovarian maturity. Diets, broodstock sources and sizes had no effect on the elapsed time between the eye-stalk ablation and the first spawning as well as the elapsed time between the two consecutive spawnings. The average number of eggs spawned per female of the large prawns was significantly greater than that of the small ones. The average number of eggs spawned per female of the prawns fed with natural diets was significantly greater than that of the prawns fed with artificial diet. Sources of broodstocks did not significantly affect the egg production of the prawns. Diets, sizes or sources of broodstocks did not produce significant effect on egg quality in terms of percent fertility, hatching rate and percent metamorphosis from eggs to the first protozoea stage. In addition, large ablated female prawns had a moulting period longer than the small ones.-
dc.description.abstractalternativeได้ทำการศึกษาผลของอาหาร แหล่งและขนาดของแม่พันธุ์ที่มีต่อการพัฒนารังไข่ และการผสมพันธุ์วางไข่ของกุ้งกุลาดำ การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลของกุ้งกุลาดำเพศเมียที่มีขนาดต่างกัน กล่าวคือ กุ้งเพศ เมียขนาดใหญ่ที่มีน้ำหนักมากกว่า 120 กรัม และกุ้งเพศเมียขนาดเล็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 110 กรัม และผลของแหล่งแม่พันธุ์ กล่าวคือ กุ้งจากแหล่งน้ำธรรมชาติ (ทะเลตื้น) และจากบ่อเลี้ยงที่มีต่อการเจริญพันธุ์และการผสมพันธุ์วางไข่ การทดลอง ที่ 2 จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาถึงผลของการให้อาหารชนิดต่างๆ ที่มีต่อการเจริญพันธุ์และการผสมพันธุ์วางไข่ของกุ้งกุลาดำเพศเมีย การให้อาหารชนิดต่างๆ ได้แก่ 1. การให้อาหารธรรมชาติ 2. การให้อาหารสองชนิดรวมกัน คือ อาหารธรรมชาติและอาหารเม็ดสูตรสำเร็จ และ 3. การให้อาหารเม็ดสูตรสำเร็จ ผลการทดลองครั้งนี่แสดงให้เห็นว่า กุ้งขนาดใหญ่มีความสามารถในการเจริญพันธุ์ของรังไข่ ถึงระยะที่ 4 และวางไข่มากกว่ากุ้งขนาดเล็ก กุ้งทั้งจากแหล่งน้ำธรรมชาติและจากบบ่อเลี้ยงมีความสามารถ ในการเจริญพันธุ์ของรังไข่และวางไข่ใกล้เคียงกัน กุ้งที่เลี้ยงด้วยอาหารธรรมชาติ และกุ้งที่เลี้ยงด้วยอาหารสองชนิดรวมกัน มีความสามารถในการเจริญพันธุ์ของรังไข่ถึงระยะที่ 4 และวางไข่ใกล้เคียงกัน ส่วนกุ้งที่เลี้ยงอาหารเม็ดสูตรสำเร็จมีความสามารถในการเจริญพันธุ์ของรังไข่ และวางไข่น้อยที่สุด กุ้งขนาดใหญ่สามารถเจริญพันธุ์และวางไข่ซ้ำมากกว่ากุ้งขนาดเล็ก กุ้งที่เลี้ยงด้วยอาหารธรรมชาติ และกุ้งที่เลี้ยงด้วยอาหารสองชนิดรวมกันสามารถเจริญพันธุ์ และวางไข่ซ้ำมากกว่ากุ้งที่เลี้ยงด้วยอาหารเม็ดสูตรสำเร็จ อาหาร แหล่งและขนาดของแม่พันธุ์ไม่มีผลต่อช่วงเวลาที่ใส่ในการเจริญพันธุ์ของรังไข่ครั้งแรก หลังการตัดก้านตา และช่วงเวลาที่ใช้ในการเจริญพันธุ์ครั้งต่อๆ ไปอย่างมีนัยสำคัญ ช่วงเวลาที่ใช้ในการเจริญพันธุ์ครั้งแรกหลังการตัดก้านตา มากกว่าช่วงเวลาที่ใช้ในการเจริญพันธุ์ครั้งต่อๆ ไปอย่างมีนัยสำคัญอาหาร แหล่งและขนาดของแม่พันธุ์ไม่มีผลต่อช่วง เวลาที่ใช้ในการวางไข่ครั้งแรกหลังการตัดก้านตา และช่วงเวลาที่ใส่ในการวางไข่ครั้งต่อไปอย่างมีนัยสำคัญ ช่วงเวลาที่ใช้ในการวางไข่ครั้งแรกหลังการตัดก้านตามากกว่าช่วงเวลาในการวางไข่ครั้งต่อๆ ไปอย่างมีนัยสำคัญ จำนวนไข่ทั้งหมดต่อตัวของกุ้งเพศเมียขนาดใหญ่มากกว่าของกุ้งเพศเมียขนาดเล็กอย่างมีนัยสำคัญจำนวนไข่ทั้งหมดต่อตัวของกุ้งเพศเมียที่เลี้ยงด้วยอาหารธรรมชาติ มากกว่าของกุ้ง เพศเมียที่เลี้ยงด้วยอาหารเม็ดสูตรสำเร็จอย่างมีนัยสำคัญ แหล่งของแม่พันธุ์ไม่มีผลต่อปริมาณของไข่ต่อตัวของกุ้งเพศเมียอย่างมีนัยสำคัญ อาหาร แหล่งและขนาดของแม่พันธุ์ไม่มีผลต่อคุณภาพของไข่ในด้านเปอร์เซ็นต์การปฏิสนธิ อัตราการฟักไข่ และเปอร์เซ็นต์การพัฒนาจากไข่ไปเป็นตัวอ่อนระยะโปรโตรซูเอียขั้นที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญนอกจากนี้ในการศึกษาครั้งนี้ยังพบว่า กุ้งเพศเมียขนาดใหญ่มีช่วงเวลาในการลอกคราบนานกว่า กุ้งขนาดเล็กอย่างมีนัยสำคัญ-
dc.format.extent4431549 bytes-
dc.format.extent12883111 bytes-
dc.format.extent5886226 bytes-
dc.format.extent9784837 bytes-
dc.format.extent4809249 bytes-
dc.format.extent1640962 bytes-
dc.format.extent8140531 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.titleEffects of diets, sources and sizes of broodstock on ovarian development and spawning of giant tiger prawn (Penaeus monodon Fabricius)en
dc.title.alternativeผลของอาหารแหล่งและขนาดของแม่พันธุ์ที่มีต่อการพัฒนารังไข่ และการวางไข่ของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius)en
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Sciencees
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineMarine Sciencees
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sakon_sa_front.pdf4.33 MBAdobe PDFView/Open
Sakon_sa_ch1.pdf12.58 MBAdobe PDFView/Open
Sakon_sa_ch2.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open
Sakon_sa_ch3.pdf9.56 MBAdobe PDFView/Open
Sakon_sa_ch4.pdf4.7 MBAdobe PDFView/Open
Sakon_sa_ch5.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Sakon_sa_back.pdf7.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.