Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธพรรณ ตรีรัตน์-
dc.contributor.advisorสัณห์ พณิชยกุล-
dc.contributor.authorวันดี ยินดียั่งยืน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-01-31T11:28:39Z-
dc.date.available2013-01-31T11:28:39Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745790591-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28725-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en
dc.description.abstractการศึกษาเห็ดหอม (Lentinula edodes) สายพันธุ์พ่อ แม่ และลูกผสม โดยใช้คุณสมบัติ ความแตกต่างของปฏิกิริยาระหว่างเส้นใย (hyphal interaction) ทำให้สามารถจำแนกความแตกต่างในเบื้องต้นของสายพันธุ์ดังกล่าวคือ แยกสายพันธุ์เห็ดหอมเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสายพันธุ์ MU2 , MU4 และ MU11 กับกลุ่มสายพันธุ์ MU5, MU9 และ MU12 การเลี้ยงเส้นใยเห็ดหอมในอาหารเหลว PDYB เป็นระยะเวลา 10 - 50 วัน พบว่าทั้งเส้นใยสปอร์เดี่ยว (monokaryotic mycelia) และเส้นใย dikaryon มีลักษณะการเจริญคิดเป็นน้ำหนักแห้งแบบทวิคูณ (logarithmic growth) โดยที่เส้นใย dikaryon สายพันธุ์พ่อ แม่ (MU2 ,MU4 , MU12) และลูกผสม 12 สายพันธุ์ มีการเจริญใกล้เคียงกัน แต่การเจริญของเส้นใยสปอร์เดี่ยวต่ำกว่าเส้นใย dikaryon 2-3 เท่า เมื่อศึกษาเอนไซม์ภายในเซล พบว่าวิธีการสกัดแยกโปรตีนและเอนไซม์จากเส้นใยที่ให้ผลสมบูรณ์ที่สุดคือ การบดด้วยเครื่องโฮโมจิไนเซอร์ตามด้วยการใช้คลื่นเสียงความถี่สูง (sonication) เส้นใยเห็ดหอมมีการผลิต laccase ทั้งชนิดภายนอกและภายในเซลควบคู่ไปกับการ เจริญ จากการศึกษาเห็ดลูกผสมที่ได้จากการผสมระหว่างพ่อ แม่ 2 คู่ คือMU2 และ MU12 กับ MU4 และ MU12 พบว่าเส้นใยของกลุ่มที่เกิดดอกได้ดีส่วนใหญ่มีระดับแอคติวิตีของ laccase สูงหรือค่อนข้างสูง โดยเฉลี่ยแล้ว เส้นใยสปอร์เดี่ยวส่วนมากจะมีแอคติวิตีต่ำกว่าในเส้นใย dikaryon รูปแบบการเจริญและการผลิต acid phosphatase ทั้งในเส้นใยสปอร์เดี่ยวและเส้นใย dikaryon เป็นแบบควบคู่กับการเจริญเช่นเดียวกัน โดยที่ระดับแอคติวิตีจำเพาะของเอนไซม์ซึ่งพบเฉพาะภายในเซลไม่แตกต่างกันมากนัก ในระหว่างเส้นใยสปอร์เดี่ยวและเส้นใย dikaryon ผลการตรวจสอบรูปแบบการผลิตเอนไซม์ glutamate dehydrogenase และ acid phosphatase โดยวิธีอิเลคโตรฟอริซีส แสดงว่าเส้นใยเห็ดหอมที่ทดลองผลิตเอนไซม์ทั้งสองชนิดได้อย่างละรูปแบบเดียว (monomorphic pattern) ในขณะที่รูปแบบไอโซไซม์ laccase ภายในเซลและ esterase เมื่อวิเคราะห์ที่ระยะเวลาต่างๆของการเจริญพบว่าแตกต่างกัน นอกจากนี้เส้นใยสปอร์เดี่ยวซึ่งได้จากสายพันธุ์พ่อหรือแม่เดียวกันมีรูปแบบไอโซไซม์ที่แตกต่างกันออกไป กลุ่มของลูกผสมเห็ดหอมสายพันธุ์ที่ได้จากการผสมเส้นใยสปอร์เดี่ยวระหว่าง MU4 และ MU12 มีสัมพันธภาพของไอโซไซม์ laccase ภายในเซล และ esterase กับคุณสมบัติของการเกิดดอก โดยที่ลูกผสมซึ่งไม่เกิดดอกมีรูปแบบไอโซไซม์ต่างจากกลุ่มที่เกิดดอกอย่างชัดเจน ส่วนลูกผสมจากพ่อ แม่คู่อื่นให้ผลไม่ชัดเจน-
dc.description.abstractalternativeThe parental and hybrid strains of shiitake (Lentinula edodes) were studied in certain aspects. The hyphal interaction experiment had revealed that the examined strains could be divided into two groups: MU2, MU4, MU11 and MU5, MU9, MU12. The growth patterns of L. edodes, mono- and dikaryotic mycelia in PDYB liquid media during growth period of 10 - 50 days were logarithmic growth. The growth rates of dikaryotic mycelia were 2-3 times higher than those of monokaryotic mycelia. Homogenization and sonication were used as effective techniques to release intracellular enzymes from L. edodes mycelia. Intra- and extracellular laccases were growth associative enzymes. The laccase activities in good fruiting hybrids derived from MU2 - MU12 and MU4 - MU12 were rather high when compared to the hybrids that could not fruit. Most of the monosporous isolates had lower average laccase activities than the dikaryotic mycelia. Acid phosphatase was found to be growth associative enzyme. Specific activities of acid phosphatase in mono- and dikaryotic mycelia were not significantly different. Isozyme patterns of glutamate dehydrogenase and acid phosphatase examined by polyacrylamide slab gel electrophoresis were monomorphic while laccase and esterase had polymorphic patterns. The intracellular laccase and esterase obtained from different age of cultures were changed. The intracellular laccase and esterase isozyme patterns of the hybrids from the parents MU4 and MU12 were found to be correlated with fruiting ability but another set of hybrids did not show consistent results.-
dc.format.extent7898149 bytes-
dc.format.extent5488554 bytes-
dc.format.extent8107725 bytes-
dc.format.extent21823827 bytes-
dc.format.extent7143033 bytes-
dc.format.extent15356551 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleสหสัมพันธ์ระหว่างไอโซไซม์กับความสามารถในการเกิดดอก ของสายพันธุ์ลูกผสมของเห็ดหอม (Lentinula edodes)en
dc.title.alternativeCorrelation of isozymes with fruiting ability of hybrids of shiitake (Lentinula edodes)en
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wandee_yi_front.pdf7.71 MBAdobe PDFView/Open
Wandee_yi_ch1.pdf5.36 MBAdobe PDFView/Open
Wandee_yi_ch2.pdf7.92 MBAdobe PDFView/Open
Wandee_yi_ch3.pdf21.31 MBAdobe PDFView/Open
Wandee_yi_ch4.pdf6.98 MBAdobe PDFView/Open
Wandee_yi_back.pdf15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.