Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา-
dc.contributor.advisorสมบัติ สุวรรณพิทักษ์-
dc.contributor.authorศราวุฒิ จินตนาสุนทรศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพ-
dc.date.accessioned2013-02-06T02:27:56Z-
dc.date.available2013-02-06T02:27:56Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28764-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือและทฤษฎีการสร้างความรู้สำหรับนักศึกษาการศึกษานอกระบบในกรุงเทพมหานคร 2) ทดลองใช้โปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือและทฤษฎีการสร้างความรู้สำหรับนักศึกษาการศึกษานอกระบบในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความคิดเห็นและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือและทฤษฎีการสร้างความรู้สำหรับนักศึกษาการศึกษานอกระบบในกรุงเทพมหานครที่ได้พัฒนาขึ้นไปใช้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพร้าวจำนวน 22 คน โดยทดลองกลุ่มเดียว ทำการวิเคราะห์ผลก่อนและหลังการทดลอง ระยะเวลาการดำเนินโปรแกรม 13 สัปดาห์และปฏิบัติกิจกรรมรวม 100 ชั่วโมง ผลการวิจัยพบว่า 1) โปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือและทฤษฎีการสร้างความรู้สำหรับนักศึกษาการศึกษานอกระบบ ในกรุงเทพมหานคร มีขั้นตอนกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือกันสร้างความรู้ คือ (1) ขั้นเตรียมพร้อมความรู้ (2) ขั้นนำเสนอบทเรียนและการสอน (3) ขั้นร่วมมือกันสร้างความชำนาญ (4) ขั้นร่วมกันสรุปบทเรียน และ (5) ขั้นแสดงความรู้รายบุคคล 2) ผลการทดลองใช้โปรแกรม พบว่า (1) ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนของนักศึกษาการศึกษานอกระบบมีค่ามากกว่าค่าคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) จากการประเมินผลทักษะการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบร่วมมือ ทักษะการคิดเลข และการเรียนรู้คณิตศาสตร์รายบุคคลจากการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบร่วมมือ พบว่านักศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 70 (3) ผลการประเมินกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมืออยู่ในระดับดีมาก 3) ต้องนำความคิดเห็นและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำโปรแกรมการศึกษานอกระบบที่ได้พัฒนาขึ้นไปใช้ ซึ่งได้แก่ ครูประจำกลุ่ม ผู้เรียน วิธีการสอน สื่อการเรียนการสอน และเนื้อหาสาระมาพิจารณาด้วยen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to: 1) develop a non-formal education program to enhance the cooperation in mathematical learning based on the cooperative learning concept and constructivist theory for non-formal education students in Bangkok metropolis; 2) experiment a non-formal education program to enhance the cooperation in mathematical learning based on the cooperative learning concept and constructivist theory for non-formal education students in Bangkok metropolis; and 3) study the opinions and factors related to the implementation of the developed non-formal education program to enhance the cooperation in mathematical learning based on the cooperative learning concept and constructivist theory for non-formal education students in Bangkok metropolis. This study was based on the Research and Development in which the samples were twenty-two non-formal education students in the Latphrao District Non-formal and Informal Education Center. The one group pretest-posttest design i.e. single group experiment design was applied in this study. The program implementation lasted thirteen weeks and the total activities lasted one hundred hours. The results were as follows: 1. The cooperative and constructivist activity processes of a non-formal education program to enhance the cooperation in mathematical learning based on the cooperative learning concept and constructivist theory for non-formal education students in Bangkok metropolis included the following stages 1) preparation of knowledge; 2) introduction to lessons and instructions; 3) cooperative construction of proficiency; 4) cooperative conclusion of the lessons learned; and 5) presentation of gained knowledge individually. 2. The results of the experiment indicated that 1) the students’ post-test average achievement scores after their participation in the non-formal education program were reported to be higher than their pre-test ones at the significant level of .05; 2) the results of the evaluation of the cooperative mathematical learning skills, calculating skills and individual mathematical learning from the cooperative mathematical learning revealed that the students passed the evaluation criteria at 70%; and 3) the overall evaluation of the learning process was reported to be at the very good level. 3. The opinions and factors related to the implementation of the developed program including teachers, students, teaching techniques, teaching and learning materials and contents were to be considered.en
dc.format.extent4208909 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1558-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียน -- ไทย -- กรุงเทพen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน -- ไทย -- กรุงเทพen
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพen
dc.subjectทฤษฎีสรรคนิยมen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการศึกษานอก ระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือและทฤษฎีการสร้างความรู้สำหรับนักศึกษาการศึกษานอกระบบ ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeDevelopment of a non-formal education program to enhance the cooperation in mathematical learning based on cooperative learning concept and constructivist theory for non-formal education students in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWorarat.A@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1558-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sarawut_ji.pdf4.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.