Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28778
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิรัตน์ เพ็ชรศิริ | - |
dc.contributor.advisor | พรเพชร วิชิตชลชัย | - |
dc.contributor.author | เลิศลักษณ์ ปานเลิศ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-02-07T09:28:50Z | - |
dc.date.available | 2013-02-07T09:28:50Z | - |
dc.date.issued | 2531 | - |
dc.identifier.isbn | 9745686425 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28778 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | en |
dc.description.abstract | เมื่อมีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพิ่มมากขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้นเสมือนกับเป็นเงา ซึ่งไม่สามารถจะมองข้ามไปได้คือ ผลกระทบทางกฎหมายโดยเฉพาะในด้านการใช้ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์เป็นพยานหลักฐาน เมื่อคู่ความมีความประสงค์จะอ้างข้อความหรือความหมายที่เป็นผลลัพธ์ (output) จากการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์มาพิสูจน์ข้อเท็จจริงในศาล ผลลัพธ์ของคอมพิวเตอร์อาจอยู่ในรูปของเอกสารจากคอมพิวเตอร์ (print out), ดิสเกต (diskettes), เทป (magnetic tapes) ฯลฯ แต่มีผลลัพธ์รูปแบบเดียวที่ใช้เป็นพยานเอกสารในศาล ได้คือ เอกสารจากคอมพิวเตอร์ (print out) โดยพิจารณาว่าคอมพิวเตอร์เป็นพยานเอกสาร คอมพิวเตอร์มีลักษณะการใช้งาน 3 รูปแบบ คือ 1. ใช้ในลักษณะที่เป็นเครื่องพิมพ์ 2. ใช้เก็บบันทึกข้อมูล และ 3. ใช้เป็นเครื่องมือ การที่คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ทลายลักษณะเนื่องจาก ความสามารถของโปรแกรม (software) ซึ่งลักษณะการใช้งานของคอมพิวเตอร์แต่ละรูปแบบดังกล่าว ทำให้ผลลัพธ์ที่เป็นสิ่งพิมพ์ หรือเอกสารเป็นพยานหลักฐานได้ต่างกัน ดังนี้ 1. คอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้ในลักษณะเช่นเดียวกับเครื่องพิมพ์ เอกสารจากคอมพิวเตอร์รูปแบบ นี้เหมือนกับเอกสารทั่วไป ไม่มีความซับซ้อนของการทำงาน ดังนั้นการใช้เอกสารจากคอมพิวเตอร์รูปแบบน ยังคงเป็นไปตามบทบัญญัติกฎหมายพยานหลักฐานปัจจุบัน 2. คอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้ในการเก็บบันทึกข้อมูล เอกสารจากคอมพิวเตอร์รูปแบบนี้ไม่ขึ้นอยู่ กับบทบัญญัติกฎหมายพยานหลักฐานปัจจุบัน ซึ่งสามารถใช้เอกสารจากคอมพิวเตอร์เป็นพยานหลักฐานได้โดย ไม่ขึ้นอยู่กับกฎพยานบอกเล่า และกฎการรับฟังต้นฉบับเอกสาร แต่คู่ความที่นำเสนอเอกสารดังกล่าวจะต้องนำสืบจุดสกัดข้อบกพร่องของคอมพิวเตอร์ 6 ประการ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเอกสาร 3. คอมพิวเตอร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือ เอกสารจากคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ถือเป็นพยานหลักฐานชั้นหนึ่ง ซึ่งเป็นเอกสารที่ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อยืนยันความจริงของพยานบุคคลที่ไม่ได้มาให้การในศาล และเนื่องจากขบวนการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์มีความยุ่งยากซับซ้อน จำเป็นต้องให้พยานผู้เชี่ยวชาญนำสืบประกอบเอกสาร | - |
dc.description.abstractalternative | The increase in the use of computer gives rise to the question regarding the effect on the law of computer outputs, especially in respect of their use as evidence or as means of interoperating other evidence by litigants in court. Computer outputs may be in the form of printouts, diskettes, magnetic tapes, etc... But the only form of computer output which can be cited as evidence before the court is the print out. A print out is considered to be documentary evidence. There are three uses of a computer:- 1. as a typewriter ; 2. to store information ; 3.as an instrument. Because the various, uses of a computer depend on the program (software), each use will have its own distinctive way of being cited as evidence before the court, namely: 1. As a typewritter. Such printouts are presented like ordinary document evidence before the court, because the computer operates on a relatively rudimentary level. The presentation of such evidence is subject to the Thai law of evidence. 2. To store information Such printouts are not subject to the Thai law of evidence, and can be used as evidence without being subject to the "hearsay rule" or to "the best evidence rule". But a litigant presenting such evidence before the court must also convince the court that the computer functioned properly throughout the process in order to prove the redibility of the evidence. This is an important element in the court's assessment of the value of the evidence. 3. As an instrument. Such printouts constitute real evidence, as they have not been produced to support a non-appearing witness. But owing to the complicated nature of a computer'ร operation, an expert witness may be needed. | - |
dc.format.extent | 8290781 bytes | - |
dc.format.extent | 5866143 bytes | - |
dc.format.extent | 19687155 bytes | - |
dc.format.extent | 42269146 bytes | - |
dc.format.extent | 41649796 bytes | - |
dc.format.extent | 8768949 bytes | - |
dc.format.extent | 6353194 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การใช้เอกสารจากคอมพิวเตอร์เป็นพยานในศาล | en |
dc.title.alternative | The Use of Print out from Computer as Evidence in Court | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Lerdlux_pa_front.pdf | 8.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lerdlux_pa_ch1.pdf | 5.73 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lerdlux_pa_ch2.pdf | 19.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lerdlux_pa_ch3.pdf | 41.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lerdlux_pa_ch4.pdf | 40.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lerdlux_pa_ch5.pdf | 8.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lerdlux_pa_back.pdf | 6.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.