Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28815
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอติวงศ์ สุชาโต-
dc.contributor.authorถาวร ลิ้มวัฒนาชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-02-10T13:54:33Z-
dc.date.available2013-02-10T13:54:33Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28815-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอเอพีไอ (API) ที่ช่วยในการปรับปรุงส่วนต่อประสานผู้ใช้งานของโปรแกรมเลียนแบบเครื่องปลายทาง (Terminal Emulator) ด้วยกลวิธีสกรีน สเครปปิง (Screen Scraping) เพื่อให้ผู้พิการทางการเห็นสามารถทำงานร่วมกับระบบเก่า (Legacy System) ด้วยโปรแกรมอ่านหน้าจอได้ โดยเอพีไอนี้ ได้นำแบบจำลองวัตถุเชิงเอกสาร (Document Object Modeling) มาประยุกต์ใช้ในการกำหนดข้อมูลหน้าจอโปรแกรมเลียนแบบเครื่องปลายทางให้อยู่ในรูปแบบของวัตถุ พร้อมทั้งพัฒนาเครื่องมือสร้างแบบจำลองการปฏิสัมพันธ์หน้าจอโปรแกรมเลียนเครื่องปลายที่ช่วยในการเก็บข้อมูลบนหน้าจอของโปรแกรมเลียนแบบเครื่องปลายทางให้อยู่ในรูปแบบไฟล์เอ็กซ์เอ็มแอล (XML) ด้วยเอพีไอและเครื่องมือนี้จะช่วยให้ผู้พัฒนาโปรแกรมไม่จำเป็นต้องทำความเข้าใจการทำงานของระบบเก่าทั้งหมด ผู้เชี่ยวชาญระบบเก่าจะใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูลและสร้างเอกสารอ้างอิงเพื่อให้ผู้พัฒนาสามารถเรียกดูข้อมูลได้ผ่านส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ ภายในวิทยานิพนธ์ได้ทดสอบเอพีไอที่ถูกสร้างขึ้นโดยการเปรียบเทียบกับเอพีไอดั้งเดิมชื่อ EHLLAPI (Extended High Level Language Application Programming Interface) ได้แบ่งการทดสอบออกเป็น 2 ส่วน คือ การเปรียบเทียบกระบวนการในการเขียนโปรแกรมและการเปรียบเทียบจำนวนบรรทัดของโค้ด โดยกำหนดขอบเขตในการปรับปรุงระบบเก่า ผลการทดสอบพบว่าเอพีไอที่ออกแบบสามารถช่วยลดขั้นตอนในการพัฒนาและจำนวนโค้ดในการเขียนโปรแกรมได้ และสามารถใช้งานได้สะดวกมากขึ้นกว่าเอพีไอประยุกต์ดั้งเดิมอีกด้วยen
dc.description.abstractalternativeThis thesis proposes an application programming interface (API) that facilitates programmers to develop any application to connect with terminal emulator interface that will be readable by screen reader program. Using screen scraping technique, the document object modeling method (DOM) is utilized in the API development to categorize on-screen data in terminal emulator into object forms. The thesis also provides the tool to generate terminal emulator screen interaction model to store data in xml file type. By using this API and the tool, application development can be completed without any expertise in the legacy system because the data will be collected by skilled users and the rest will be automatically handled by the tool. This thesis compares the proposed API with the EHLLAPI (Extended High Level Language Application Programming Interface). The experiments are divided into 2 parts. The first part is to compare the process of coding and the second part is to compare the number of lines of code. The results show that the proposed API is very effective at minimizing the steps of programming deployment while reducing coding tasks.en
dc.format.extent5079731 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2010-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโปรแกรมคอมพิวเตอร์ -- การออกแบบen
dc.subjectคอมพิวเตอร์อินเตอร์เฟสen
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์ -- การออกแบบ-
dc.titleการออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ห่อหุ้มโปรแกรมเลียนแบบเครื่องปลายทางen
dc.title.alternativeDesign and development of terminal emulater wrapper application programming interfaceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมซอฟต์แวร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAtiwong.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2010-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thaworn_li.pdf4.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.