Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28835
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์-
dc.contributor.authorอรพรรณ ลีนะเปสนันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-02-11T07:30:42Z-
dc.date.available2013-02-11T07:30:42Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28835-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากว่าอาจกลายเป็นเครื่องมือของคณะรัฐประหารในการเข้าสู่เส้นทางการเมือง และการใช้อำนาจในการบริหารประเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อพวกพ้องของคณะรัฐประหาร หรือการใช้อำนาจตามอำเภอใจจนเกิดการละเมิดสิทธิเสรีภาพ หรือการการทุจริตคอรัปชั่น เหมือนเช่นในอดีตซึ่งประเทศไทยเกิดการรัฐประหารและประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวหรือธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร จนนำมาสู่การศึกษาบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ว่ามีบทบัญญัติหรือหลักการที่คล้ายกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวในอดีตมากน้อยเพียงใด และจะเป็นเครื่องมือของคณะรัฐประหารเหมือนเช่นที่ผ่านมาหรือไม่ โดยใช้แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมเป็นแนวคิดพื้นฐานในการศึกษาและเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวในอดีต ผลการศึกษาพบว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 มีบทบัญญัติที่รองรับในเรื่องสิทธิ เสรีภาพของประชาชน แต่ไม่ชัดเจนและเพียงพอที่จะเป็นหลักประกันมิให้มีการละเมิดสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการใช้อำนาจโดยองค์กรของรัฐ ทั้งยังขาดแนวคิดเรื่องการแบ่งแยกการใช้อำนาจและตรวจสอบถ่วงดุลซึ่งกันและกัน ดังนั้นรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวจึงไม่ได้นำแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมมาบัญญัติเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแต่ประการใด และการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 และรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวได้กลายเป็นเครื่องมือของคณะรัฐประหารในการใช้อำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำให้การรัฐประหาร คำสั่ง หรือประกาศของคณะรัฐประหารเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย และชอบด้วยรัฐธรรมนูญ และกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนจนก่อความเสียหายต่อการพัฒนาระบอบการปกครองประชาธิปไตยของประเทศไทยในปัจจุบันen
dc.description.abstractalternativeThe declaration of the interim constitution B.E.2549 has been criticized for being used as an apparatus by the coup d’etat council for their political power and benefits of their allies. Such execution of power has led to the violation of people’s rights and/or corruption, as we have witnessed in the history of Thai politics when there was a coup d’etat or the declaration of an interim constitution. Accordingly, the objectives of this study are to learn whether the present interim constitution is similar to its ancestors and whether it is misused by the coup d’etat, using constitutionalism as the foundation of the study in terms of comparison with the past interim constitution. The study found that the interim constitution, B.E.2549, already included the provision for the people’s rights and freedom. However such provision was not apparent and was not enough to guarantee the basic rights of people, especially from the execution of power of the government agencies. Moreover, the concept of separating and balancing of powers was missing. Accordingly, the interim constitution, B.E.2549, had not adopted the concept of constitutionalism. As a result, its declaration was used as an instrument to gain more power by the coup d’etat council, particularly to constitutionally legalize their action, regulation and proclamation. Also, the process of drafting the new constitution, that excluded people’s participation, was perceived as harmful to the development of Thai democracy.en
dc.format.extent2307475 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.151-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรัฐธรรมนูญ -- ไทยen
dc.subjectไทย -- การเมืองและการปกครองen
dc.subjectรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2549en
dc.subjectกฎหมายรัฐธรรมนูญ -- ไทยen
dc.subjectรัฐประหาร -- ไทยen
dc.titleแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในรัฐธรรมนูญไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549en
dc.title.alternativeConstitutionalism in the thai constitution : a case study on the interim constitution of 2006en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKriengkrai.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.151-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Oraphan_le.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.