Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28845
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนรลักขณ์ เอื้อกิจ-
dc.contributor.advisorชนกพร จิตปัญญา-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ อินทร์ปรุง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-02-11T09:14:53Z-
dc.date.available2013-02-11T09:14:53Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28845-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหลังได้รับการขยายหลอดเลือดโคโรนารี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหลังได้รับการขยายหลอดเลือดโคโรนารี ที่เข้ารับบริการที่คลินิกโรคหัวใจ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 20 คน โดยคำนึงถึงความคล้ายคลึงกันในเรื่องเพศ อายุ ระดับการติดสารนิโคติน ความพยายามในการเลิกบุหรี่และจำนวนครั้งในการเลิกสูบบุหรี่ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ในขณะที่กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนในการเลิกสูบบุหรี่ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น โดยใช้แนวคิดของแบนดูรา(Bandura,1997) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ แบบบันทึกการการเลิกสูบบุหรี่ด้วยตนเอง แบบวัดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลิกสูบบุหรี่ และแบบวัดพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ด้วยการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน และหาค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบวัดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลิกสูบบุหรี่ และแบบวัดพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ เท่ากับ .89 และ .87 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าท ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหลังได้รับการขยายหลอดเลือดโคโรนารี ที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตน มีค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ที่ระดับ .05 2.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหลังได้รับการขยายหลอดเลือดโคโรนารี กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตน มีค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research was to study the effect of self-efficacy promoting program on smoking cessation behavior in patients after undergoing percutaneous coronary intervention. Samples were 40 adults patients with coronary artery disease who reseived percutaneous coronary intervention at heart clinic, out patient department, Phramongkutklao Hospital. The samples were assigned in to the experimental and the control group, matched in terms of gender, age, nicotine level, attempt to try of quit smoke and the methods of quit smoke. The experimental group received the perceived self-efficacy promoting program smoking cessation, and the control group received a conventional nursing care. Self-efficacy Theory (Bandura, 1997) were used as a conceptual framework. The instruments were Perceived Self-efficacy Questionnaires and Smoking Behaviors Questionnaires and tested for the content validity by 5 experts. The reliabilities of were .89 and .87, respectively. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, and t-test. Major findings were as following: 1. The mean score of smoking cessation behavior after participating in the changing behavior program was significantly higher than before participating in the program at the level of .05 2. The mean score of smoking cessation behavior after participating in the program of the experimental group was significantly higher than that of the control group at the level of .05en
dc.format.extent2920722 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1184-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเลิกบุหรี่en
dc.subjectหลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรคen
dc.subjectหลอดเลือดโคโรนารีย์ผิดปกติen
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมเลิกสูบบุหรื่ของผู้ป่วยโรคหลอดเลีอดหัวใจตีบหลังได้รับการขยายหลอดเลือดโคโรนารีen
dc.title.alternativeThe effect of self-efficacy promoting program on smoking cessation behaviors in patients after undergone percutaneous coronary interventionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNoraluk.U@Chula.ac.th-
dc.email.advisorhchanokp@pioneer.netserv.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1184-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patcharin_in.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.