Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย ปรีชาวัฒน์-
dc.contributor.authorรัญญวรรณ โชตินิมิตรคุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-02-19T09:41:37Z-
dc.date.available2013-02-19T09:41:37Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28946-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของอาการก่อน ขณะ และหลังการเป็นลมหมดสติในผู้ป่วยที่มีอาการทางคลินิคสงสัยเป็นลมหมดสติชนิด neurocardiogenic สามารถทำนายผลบวก Head-up tilt testing (HUTT)ได้ ความสำคัญและที่มา ภาวะเป็นลมหมดสติชนิด neurocardiogenic พบบ่อยในเวชปฎิบัติ โดย HUTT สามารถยืนยันการวินิจฉัยได้เป็นอย่างดี ซึ่งเครื่องมือชนิดนี้มีเฉพาะในโรงพยาบาล ที่เป็นโรงเรียนแพทย์เท่านั้นและใช้เวลาในการทำการทดสอบนาน ดังนั้นการค้นหาปัจจัยทางคลินิคที่สามารถทำนายผล HUTT ได้ อาจทำให้การวินิจฉัยโรคสะดวกยิ่งขึ้น วิธีการ ผู้ป่วยที่มีอาการทางคลินิกสงสัยเป็นลมหมดสติชนิด neurocardiogenic 71 คน ( เพศหญิงจำนวน 46 คนและอายุเฉลี่ย 44±18 ปี ) ได้รับการซักประวัติ กรอกแบบสอบถามเกี่ยวกับอาการเป็นลมหมดสติและข้อมูลการเจ็บป่วยทั่วไป รวมทั้งตรวจร่างกายและตรวจเพิ่มเติมเบื้องต้น ผู้ป่วยทุกรายจะได้รับการทดสอบเตียงกระดกชนิดไม่ใช้ยา(passive phase) และจะใช้ยา isosorbide dinitrate 1.25 มิลลิกรัม พ่นใต้ลิ้น(active phase) ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่หมดสติตั้งแต่ passive phase ผลการศึกษา ผลการทดสอบ HUTT เป็นบวก 55 ราย(ร้อยละ 77) โดยในกลุ่มนี้พบอุบัติการณ์ของอาการบางอย่าง ได้แก่ อายุน้อยในขณะเกิดอาการครั้งแรก บาดเจ็บจากการเป็นลมยืนก่อนเป็นลม และความรู้สึกหนาวนำมาก่อนเป็นลม มากกว่าการทดสอบเป็นลบ แต่มี 2 อาการเท่านั้นที่มีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อาการมึนศีรษะนำมาก่อนอาการเป็นลม และการสังเกตุเห็นว่าซีดในขณะเป็นลมหมดสติ บทสรุป ผู้ป่วยที่มีอาการสงสัยเป็นลมหมดสติชนิด neurocardiogenic ร่วมกับประวัติที่มีอาการมึนศีรษะนำมาก่อนเป็นลม และการสังเกตุเห็นว่าซีดขณะเป็นลมหมดสติ อาจพิจารณาใช้เป็นข้อมูลสำคัญในการวินิจฉัยผู้ป่วยหมดสติชนิด neurocardiogenic ในกรณีที่ไม่สามารถทำ HUTT ได้en
dc.description.abstractalternativeOBJECTIVES To identify clinical predictors of positive HUTT in patient with clinical suspicion of neurocardiogenic syncope. BACKGROUND HUTT is a well established diagnostic tool in patients with clinical suspicion of neurocardiogenic syncope. However, it is time-consuming and requires special equipment.Thus, identification of simple parameters which could predict the outcome of HUTT could simplify diagnostic steps by obviating the need for HUTT. METHODS We conducted 71 patients (46 female (65%), age 44±18 years) who came to Chulalongkorn syncope clinic for HUTT due to clinical suspicion of neurocardiogenic syncope. They filled in a detailed questionnaire including medical history as well as circumstances and symptoms associated with syncopal episodes. Patients were performed first in a passive phase and, if negative, was repeated with pharmacological challenge using 1.25 mg of sublingual isosorbide dinitrate. RESULTS 55 cases (77%) were positive HUTT which found more frequently parameters such as history of physical injury (OR=2.6), standing before syncope (OR=3.2) and coldness before syncope (OR=6.2) than negative outcome group but only 2 parameters were statistically significant difference : presyncopal dizziness (OR=4.0, CI=1.0-15.9, p=0.049) and witness-documented pallor (OR=7.1, CI=1.4-35.8, p=0.017). CONCLUSIONS In clinical suspicion of neurocardiogenic syncope accompanied by presyncopal dizziness and witness-documented pallor can determine result HUTT and may be used as a diagnostic tool of neurocardiogenic syncope in settings where HUTT is not available.en
dc.format.extent1036800 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.517-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเป็นลมen
dc.subjectการเป็นลม -- การวินิจฉัยโรคen
dc.subjectนิวโรคาดิโอเจนิกen
dc.titleปัจจัยในการทำนายผลบวกของเตียงกระดกในผู้ป่วยที่มีอาการทางคลินิกสงสัยเป็นลมหมดสติชนิดนิวโรคาดิโอเจนิกen
dc.title.alternativePredicting factors for positive head-up tilt testing outcome in patients with clinical suspicion of neurocardiogenic syncopeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorprechawat@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.517-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
runyawan_ch.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.