Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28974
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย เอี่ยมอ่อง-
dc.contributor.advisorขจร ตีรณธนากุล-
dc.contributor.authorธีรภาพ ฐานิสโร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-02-20T02:29:43Z-
dc.date.available2013-02-20T02:29:43Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28974-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractความสำคัญและที่มา : ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดผ่านเครื่องไตเทียมมีความผิดปกติของระบบมิคุ้มกันซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อระดับภูมิคุ้มกันที่จะเกิดขึ้นภายหลังการได้รับวัคซีน แต่ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ในผู้ป่วยฟอกเลือดผ่านเครื่องไตเทียมนั้นยังไม่มี จึงควรมีการศึกษาถึงประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดผ่านเครื่องไตเทียม วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาสัดส่วนผู้ที่มีระดับของภูมิคุ้มกันขี้นถึงระดับที่มากกว่า 0.5 ยูนิตต่อมิลลิเมตร ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดผ่านเครื่องไตเทียม2- 3 ครั้งสัปดาห์ซึ่งได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแบบหลังสัมผัสโรค รูปแบบงานวิจัย : การศึกษาเชิงการทดลอง ระเบียบวิธีวิจัย : ผู้ป่วยที่ป่วยด้วยภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายและกำลังรักษาด้วยการฟอกเลือด 2-3 ครั้งสัปดาห์จำนวน 20 คนมาทำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า โดยฉีดเข้าผิวหนัง 2 จุด จุดละ 0.1 มิลลิลิตรในวันแรก วันที่ 0 วันที่ 3 วันที่ 7 และ อีก1จุด จุดละ 0.1 มิลลิลิตร ในวันที่ 30 และวันที่ 90และทำการเก็บตัวอย่างเลือดเพื่อส่งตรวจวัด ระดับ ระดับของภูมิคุ้มกันในวันที่ 0, วันที่ 14 และ วันที่ 90 ผลงานวิจัย : พบว่ามีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดผ่านเครื่องไตเทียม 6 คนที่มีภูมิคุ้มกันอยู่แล้ว จึงคัดออกจากการทดลอง โดยจะศึกษาระดับภูมิคุ้มกันถึงระดับที่สามารถป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้คือระดับที่มากกว่า 0.5ยูนิตต่อมิลลิเมตร ในวันที่14และ90หลังการฉีดวัคซีน พบว่าทุกคนมีระดับภูมิคุ้มกันถึงระดับที่สามารถป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้ ในวันที่14โดยมีระดับของค่าเฉลี่ยของระดับภูมิคุ้มกันเท่ากับ3.22 + 3.12ซึ่งมีค่าอยู่ในช่วง 0.81-9.17 ยูนิตต่อมิลลิเมตร (ตอบสนองร้อยละ100)และ มี13 คนที่มีภูมิคุ้มกันถึงระดับที่สามารถป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้ระดับของค่าเฉลี่ยของระดับภูมิคุ้มกันในวันที่90 หลังการฉีดวัคซีนเท่ากับ5.09 + 1.79 ซึ่งมีค่าอยู่ในช่วง 0.42-25 ยูนิตต่อมิลลิเมตรและ(ตอบสนองร้อยละ92.8) ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการฟอกเลือดผ่านเครื่องไตเทียม,การวัดค่าความเพียงพอในการฟอกเลือด,ชนิดของตัวกรอง,ระดับฮอร์โมนพาราไทรอยด์สัมพันธ์กับระดับของภูมิคุ้มกัน และไม่พบผลแทรกซ้อนที่รุนแรงของการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดผ่านเครื่องไตเทียมครั้งนี้เลย สรุป: ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดผ่านเครื่องไตเทียมมีการตอบสนองต่อวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแบบหลังสัมผัสโรคได้ดีที่ 14 วันและ 90 วันen
dc.description.abstractalternativeAlterations in immune function among hemodialysis (HD) patients affect the responsiveness of vaccination such as hepatitis B vaccination. Such inadequate response makes the HD. The effectiveness of rabies vaccination has been established in healthy population but not in the case of immunodeficiency conditions such as HIV/AIDS patients. Interestingly, the responsiveness of the current rabies vaccination in HD patients has never been examined before. This was the first study which was conducted to assess the effectiveness of post-exposure rabies vaccine in HD patients. Design: Experimental study Methods: The non-controlled clinical trial was carried out in twenty twice-a-week chronic HD patients who did not have history of rabies immunization during the last 20 years. All participants received standard Thai Red Cross post-exposure rabies vaccination. Rabies neutralizing antibody (Nab) titers were determined by the rapid fluorescent focus inhibition test on day 0 ,14 and 90. Result: Six from twenty patients who already had significant Nab titer at day 0 were excluded. The response rate was defined by the proportion of the patients who had protective antibody titer greater than 0.5 IU/mL at day 14 and 90 . They all developed protective Nab titer above 0.5 IU/mL (Response rate 100%) the mean Nab titer was 3.22 + 3.12 IU/mL (range 0.81-9.17 IU/mL) at day 14 and the mean Nab titer was 5.09 + 1.79 IU/mL (range 0.42-25 IU/mL) at day 90 one patient had Nab titer lesser than 0.5 IU/mL . There were no correlation between antibody level and patient haracteristics. No serious adverse reactions had been reported during the experiment. Conclusion: Chronic hemodialysis patients with optimal adequacy and nutritional status have protective immunological response after intradermal post-exposure rabies vaccine at day 14 post-immunization.en
dc.format.extent1491620 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.566-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรคกลัวน้ำen
dc.subjectโรคกลัวน้ำ -- การฉีดวัคซีนen
dc.subjectไตวายเรื้อรัง -- ผู้ป่วยen
dc.subjectการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันen
dc.titleการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ในผู้ป่วยฟอกเลือดผ่านเครื่องไตเทียม 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์en
dc.title.alternativeImmune response of rabies vaccination in twice or thrice weekly hemodialysis patientsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomchai.E@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.566-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Theeraphap_ta.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.