Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29086
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิษณุ โคตรจรัส-
dc.contributor.authorจุฑามณี ตังคธัช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-02-23T06:24:11Z-
dc.date.available2013-02-23T06:24:11Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29086-
dc.description.abstractปัจจุบันได้มีการนำหุ่นยนต์สนทนามาใช้ในการให้บริการทางหน้าเว็บไซต์มากขึ้น นอกจากจะเพิ่มความคล่องตัวในการบริการผู้เข้าเว็บไซต์แล้ว ยังช่วยให้เจ้าของเว็บไซต์สามารถประหยัดค่าแรงได้อีกต่อหนึ่ง อย่างไรก็ตามการเตรียมบทสนทนาให้กับหุ่นยนต์สนทนานั้นค่อนข้างใช้เวลา ผู้ดูแลจำต้องใช้เวลาในการศึกษาเพื่อเตรียมบทสนทนาต่าง ๆ ให้ได้จำนวนมาก งานวิจัยนี้ทำการนำเสนอวิธีการสร้างเนื้อหาบทสนทนาให้กับหุ่นยนต์สนทนาแบบอัตโนมัติตามหัวข้อเรื่องสนทนาที่กำหนด ซึ่งเนื้อหาบทสนทนาจะถูกดึงมาจากข้อมูลที่มีอยู่แล้ว เช่น จากเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่กำหนด โดยเนื้อหาจะถูกวิเคราะห์ด้วยเซมิมาคอฟ คอนดิชันนัล แรนดอม ฟิลด์ เพื่อให้ได้หน้าที่ของคำแต่ละคำในประโยคแต่ละประโยค แล้วจึงทำการสร้างประโยคคำถามและคำตอบสำหรับบทสนทนา โดยใช้กฎที่นำเสนอในวิทยานิพนธ์นี้ ระบบที่นำเสนอในงานวิทยานิพนธ์นี้ ใช้เนื้อหาจากหน้าเว็บไซต์ทั้งหมดห้าเว็บไซต์ในการทดสอบ ซึ่งได้ผลสรุปว่า เนื้อหาที่สร้างโดยวิธีอัตโนมัติที่นำเสนอนั้น สามารถนำมาใช้ตอบคำถามได้ ร้อยละ 64.93 ของคำถามเกี่ยวกับข้อมูลที่มี ทำให้สามารถประหยัดเวลาในการสร้างบทสนทนาให้กับหุ่นยนต์สนทนาได้en
dc.description.abstractalternativeChatbots have been used to provide a different way of services on many websites since they can help smoothing the human-computer interaction aspect of any automated service at low cost. However, a lot of time and effort are required to prepare conversation. A botmaster has to prepare masses of expected questions and answers generally by himself. This thesis presents the design and implementation of a chatbot system that allows conversation about a particular topic to be constructed from existing pool of knowledge such as a website. By using Semi-Markov Conditional Random Fields, the role of each word in each sentence within the knowledge pool can be identified. With the role of each sub-sentence, patterns for questions and answers can be generated using rules proposed by this thesis. The proposed system was tested with 5 websites as knowledge pools. The result shows that, on average, 64.93% of questions about existing knowledge could be answered, saving time for conversation designers.en
dc.format.extent1552522 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1986-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectปัญญาประดิษฐ์en
dc.subjectปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์en
dc.subjectการประมวลผลภาษาธรรมชาติ (คอมพิวเตอร์)en
dc.subjectภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์en
dc.subjectการพัฒนาเว็บไซต์en
dc.titleการสร้างเนื้อหาบทสนทนาจากหน้าเว็บไซต์สำหรับใช้งานในหุ่นยนต์สนทนาen
dc.title.alternativeGenerating conversation dialogues for chatbots using website contentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorvishnu@cp.eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1986-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chuthamanee_ta.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.