Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพ วาดเขียน-
dc.contributor.authorมลิวัลย์ แจ่มมณี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-03-01T06:05:54Z-
dc.date.available2013-03-01T06:05:54Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745790494-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29199-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาแบบวัดความอดทนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีคุณภาพ ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประจำปีการศึกษา 2533 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดชลบุรี จำนวน 1,083 คน ได้มาจากการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัด 2 ฉบับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามรายวิชาจริยศึกษา แผนการสอนที่ 5 เรื่องความอดทน ในหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 คือ แบบวัดความอดทนประเภทกำหนดข้อความเป็นสถานการณ์ และแบบตรวจสอบพฤติกรรมความอดทน ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์หาค่าความเที่ยง ความตรงโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSSX ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) แบบวัดความอดทนประเภทกำหนดข้อความเป็นสถานการณ์ จำนวน 30 ข้อ ใช้เวลาในการตอบ 30 นาที อำนาจจำแนกจากเทคนิค 27% พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกข้อ สัมประสิทธิ์ความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในมีค่าเท่ากับ .8963 ความตรงตามสภาพหาจากความสัมพันธ์กับการจัดอันดับโดยครูประจำชั้น มีค่าตั้งแต่ .7460 ถึง .9103 และหาจากความสัมพันธ์ของแบบวัดทั้ง 2 ฉบับ มีค่าเท่ากับ .8421 ความตรงเชิงจำแนก ทดสอบถ้วยสถิติ t-test พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีความตรงเชิงโครงสร้าง 2) แบบตรวจสอบพฤติกรรมความอดทน จำนวน 30 ข้อ ใช้เวลาในการตอบ 30 นาที สัมประสิทธิ์ความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในมีค่าเท่ากับ .9162 และความตรงเชิงจำแนกทดสอบด้วยสถิติ t-test พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างแบบวัดทั้ง 2 ฉบับ มีค่าเท่ากับ .8421 ซึ่งมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop an appropriate quality test of tolerance behavior of Prathom Suksa six students. The subjects used in this research were 1,083 multi-stage sampling Prathom Suksa six students in the academic year 1990 in the primary schools under the jurisdiction of the Provincial Primary Education office, Chonburi. The two researcher-constructed tests, namely, the Situation of Tolerance Test and the Tolerance Behavior Test were used. The tests were constructed in the National Primary Curricurum 2521 B.E. the data obtained were analyzed by the SPSSX program to determined reliability and validity of the tests. The major findings were as follow. 1) The 30-item Situation of Tolerance Test. It took the subjects 30 minutes to complete the test : the power of discrimination according to the 27% technique was significant at the .01 level ; the internal reliability coefficient was .8963 ; the concurrent validity were analyzed by spearman rank order correlation coefficient between the rank of the student ranked by the Situation of Tolerance Test and by their teachers, ranged from .7460 to .9103 and the Pearson correlation coefficient between two tests was .8421 ; the discriminant validity was significant at the .01 level ; the construct validity was found as well. 2) The 30-item Tolerance Behavior test. It took the subjects 30 minutes to complete the test ; the internal reliability coefficient was .9162 ; the discrimination validity was significant at the .01 level. 3) The correlation coefficient between two tests was .8421 which was significantly related at the .01 level.-
dc.format.extent5582089 bytes-
dc.format.extent4936430 bytes-
dc.format.extent13019472 bytes-
dc.format.extent17504003 bytes-
dc.format.extent16609905 bytes-
dc.format.extent7387454 bytes-
dc.format.extent20287311 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความอดทนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en
dc.title.alternativeA development of tolerance scale for prathom suksa six studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Maliwan_ja_front.pdf5.45 MBAdobe PDFView/Open
Maliwan_ja_ch1.pdf4.82 MBAdobe PDFView/Open
Maliwan_ja_ch2.pdf12.71 MBAdobe PDFView/Open
Maliwan_ja_ch3.pdf17.09 MBAdobe PDFView/Open
Maliwan_ja_ch4.pdf16.22 MBAdobe PDFView/Open
Maliwan_ja_ch5.pdf7.21 MBAdobe PDFView/Open
Maliwan_ja_back.pdf19.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.