Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29239
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุนิพนธ์ ภุมมางกูร | - |
dc.contributor.author | ราณี สุรกาญจน์กุล | - |
dc.contributor.author | ลาวัลย์ ศรีพงษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-04T08:50:45Z | - |
dc.date.available | 2013-03-04T08:50:45Z | - |
dc.date.issued | 2532 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29239 | - |
dc.description.abstract | การใช้ fluorescamine เป็น spraying reagent พ่นบน plate ที่เคลือบด้วย silica gel GF 254 สามารถใช้ตรวจสอบยาที่มีหมู่ฟังก์ชัน –NH2, -NH, และ –N- ได้ พบว่ายาที่เป็น primary amine จะเกิด fluorescence กับ fluorescamine แต่ยาที่เป็น secondary amine จะเกิด quenching ส่วนที่เป็น tertiary amine หรือ quarternary amine จะไม่เกิดอะไรกับ fluorescamine โดยอาศัยผลการทดลองอันนี้จะทำให้สามารถแบ่งยาเป็น 3 กลุ่ม คือกลุ่มที่ 1 เป็นยาที่เกิด fluorescence กับ fluorescamine กลุ่มที่ 2 เกิด quenching และกลุ่มที่ 3 ไม่เกิด fluorescence หรือ quenching กับ fluorescamine โดยอาศัยการแบ่งยาเป็นสามกลุ่มและการใช้ข้อมูลจาก Rf value ใน 3 solvent systems การใช้ไอของไอโอดีน ทำให้สามารถตรวจสอบหรือพิสูจน์เอกลักษณ์ของยาได้ | en |
dc.description.abstractalternative | The drugs which contains amino functional groups such as –NH2, -NH and –N- can be differentiated by using fluorescamine solution as spraying reagent on silica gel GF-254 thin layer chromatographic plate. Only primary amine drugs, aliphatic or aromatic amine, give a fluorescence, while secondary and tertiary even though quarternary amine drugs give a quenching and nothing with fluorescamine spraying reagent respectively. Wich these categories, the drugs can be devide into three groups. First, the drug fluorescence with fluorescamine, second, the drugs which give quenching with fluorescamine and third, the drug which have no quenching or non-fluorescence with fluores-camine. Including, such as Rf value of three solvent systems and iodine vapour, about 60 pharmaceutical products can be detected or identified. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนการวิจัยจากทุนงบประมาณแผ่นดิน 2532 | en |
dc.format.extent | 13762011 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ยา -- การวิเคราะห์ | en |
dc.subject | ยา -- วิจัย | en |
dc.subject | ฟลูออเรสคามีน | en |
dc.title | การตรวจสอบเภสัชภัณฑ์โดยใช้ฟลูโอเรสคามีน : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Detection of pharmaceutical products using fluorescamine | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Pharm - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sunibhond_pu.pdf | 13.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.