Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29249
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิรกานต์ เมืองนาโพธิ์ | |
dc.contributor.advisor | วีระวุฒิ มหามนตรี | |
dc.contributor.author | เสรี จันทรโสภณ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-04T11:01:45Z | |
dc.date.available | 2013-03-04T11:01:45Z | |
dc.date.issued | 2531 | |
dc.identifier.isbn | 9745694096 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29249 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | en |
dc.description.abstract | จากการคัดแยกคลอสตริเดียมที่สามารถผลิตบิวทานอลได้จากดินตัวอย่างในแหล่ง ต่าง ๆ ในประเทศไทย พบว่ามีคลอสตริเดียม 13 สายพันธุ์ ที่ผลิตบิวทานอลได้ปริมาณสูง ในอาหารโพเตโต เด็กโตรส บรอท ในจำนวนนี้คลอสตริเดียมสายพันธุ์ 8p-2 ผลิตบิวทานอลได้ในปริมาณสูงในอาหารที่มีแป้งมันสำปะหลัง จากการศึกษาการผลิตอาซีโตนบิวทานอลในถังหมัก (ขนาดบรรจุอาหารเลี้ยงเชื้อ 2 ลิตร) โดยคลอสตริเดียมสายพันธุ์ 8p-2 พบว่า ปริมาณเป้งมันสำปะหลัง 5% เหมาะสมต่อการผลิตตัวทำละลาย (บิวทานอล อาซีโตน เอธานอล) การเติมสารสกัดจากยีสต์ 0.2-0.8% เป็นแหล่งไนโตรเจนจะเพิ่มปริมาณตัวทำละลายตามปริมาณสารสกัดจากยีสต์ที่ใช้การเติมแอมโมเนียมซัลเฟต 0. 2% และสารสกัดจากยีสต์ 0.2% เป็นแหล่งไนโตรเจนร่วมจะ เพิ่มการผลิตตัวทำละลายเมื่อเปรียบเทียบกับการเติมสารสกัดจากยีสต์ 0.2% เป็นแหล่งไนโตรเจนเพียงอย่างเดียว แต่การเติมแอมโมเนียมซัลเฟต 0.2% ร่วมกับสารสกัดจากยีสต์ 0.2, 0.4 และ 0.6% จะไม่เพิ่มปริมาณตัวทำละลาย ปริมาณของแมกนีเซียมซัลเฟตที่เหมาะสมต่อการเจริญของเชื้อและการสร้างตัวทำละลายคือ 0.03% สภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตตัวทำละลายในถังหมักเมื่อเลี้ยงคลอสตริเดียม สายพันธุ์ 8p-2 ในอาหารที่มีแป้งมันสำปะหลัง 5%, สารสกัดจากยีสต์ 0.5%, แมกนีเซียมซัลเฟต 0.03% คือควบคุมความเป็นกรดด่างที่ 6.0 อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 25-30 ชั่วโมง จะได้ตัวทำละลายรวมสูงสุดเป็น 14.03 กรัมต่อลิตร เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแป้งเป็นผลิตภัณฑ์ เป็น 29.22 จากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา และลักษณะบางประการทางสรีระวิทยาของ คลอสตริเดียมสายพันธุ์ 8p-2 พบว่าจุลินทรีย์แสดงคุณสมบัติที่ศึกษาคล้ายกันกับ Clostridium butylicum อย่างไรก็ตามชนิดของคลอสตริเดียมสายพันธุ์ 8p-2 ยังไม่สามารถจัดจำแนกได้ | |
dc.description.abstractalternative | Clostridium sp. were isolated from different soil samples in Thailand and screened for their abilities to produce butanol. In this experiment, it was found that thirteen strains of Clostridium sp. yielded highly butanol concentration when cultivated in the potato dextrose broth. Among all of isolated, Clostridium sp. strain 8p-2 yielded highest butanol concentration in the medium containing cassava starch. The result of this study on solvents production (butanol, acetone, ethanol) in the fermentor (working volume 2 litre) by using Clostridium sp. strain 8p-2. It was found that the suitable cassava starch concentration was 5%. The addition of 0.2-0.8% yeast extract as the source of nitrogen was found that the solvents production produced varies directly with the additional amount of yeast extract. The addition of 0.2/i ammonium sulphate and 0.2% yeast extract as the co-nitrogen sources given more solvents production than that of using 0.2% yeast extract as the sole source of nitrogen, but the addition of 0.2% with 0.2%, 0.4% and 0.6% of yeast extract in 3 different batch culture did not increased the solvents production at all. The addition of 0.03% magnesium sulphate was found suitable for growth of culture and solvents production. The optimal condition for solvents production in the fermentor when Clostridium sp. strain 8p-2 was grown in the medium containing 5% of cassva starch, 0.5% of yeast extract, 0.03% of magnesium sulphate were the controlled pH of 6.0, at 35°c, for 25-30 hrs. Under these condition, the maximal solvents production of 14.03 g/1 were obtained and the percentage of conversion yield was 29.22. Studies on morphological and some physiological characteristics of Clostridium sp. strain 8p-2. It was found that this organism show characteristics similar to those of Clostridium butylicum. However, the species of Clostridium sp. 8p-2 could not yet established. | |
dc.format.extent | 7267828 bytes | |
dc.format.extent | 1767086 bytes | |
dc.format.extent | 10973035 bytes | |
dc.format.extent | 4992337 bytes | |
dc.format.extent | 16278462 bytes | |
dc.format.extent | 2721895 bytes | |
dc.format.extent | 4255601 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การผลิตอาซีโตน-บิวทานอลจากแป้งมันสำปะหลังโดย Clostridium sp. ที่แยกได้จากดินในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Production of acetone-butanol from cassava strach by clostridium sp. isolated from thai soil | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จุลชีววิทยา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Seree_ch_front.pdf | 7.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Seree_ch_ch1.pdf | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Seree_ch_ch2.pdf | 10.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Seree_ch_ch3.pdf | 4.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Seree_ch_ch4.pdf | 15.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Seree_ch_ch5.pdf | 2.66 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Seree_ch_back.pdf | 4.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.