Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29281
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร | - |
dc.contributor.author | วัชนาภา ชาติมนตรี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-05T08:03:35Z | - |
dc.date.available | 2013-03-05T08:03:35Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29281 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงคุณภาพเฉพาะกรณี (Case study approach) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายการนำแนวคิดลีนไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล โดยโรงพยาบาลที่ศึกษาเป็น 1 ใน 5 โรงพยาบาลนำร่องที่เข้าร่วมโครงการ Demonstration Project for Lean Application in Health Industry และได้ทำการเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง ได้แก่ 1) คณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ 2) กลุ่มงานการพยาบาล 3) กลุ่มผู้ประสานงาน รวม 18 คน เก็บรวบรวมโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก สังเกต การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องที่ได้รับการนุญาตและการถ่ายภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Conten Analysis) ผลการวิจัยใช้แนวคิดลีนในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล แบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การเริ่มต้นโครงการ สรุปการพัฒนาคุณภาพระยะนี้อธิบายได้ดังนี้ 1) ชักชวนจากสถาบันเพิ่มผลผลิต 2) มีประกาศนโยบายประชาสัมพันธ์ทั่วทั้งองค์กร 3) เห็นปัญหา เห็นประโยชน์ มีส่วนร่วม และ 4) อบรมให้เห็นจริง ระยะที่ 2 ระยะดำเนินการเพื่อนำแนวคิดลีนไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ในระยะนี้มีการดำเนินงานต่อเนื่องจากระยะที่ 1 สรุปอธิบายได้ดังนี 1) จัดตั้งคณะกรรมการลีนเพื่อสอน 2) กระตุ้นให้สำเร็จแล้วอยากทำต่อ 3) การใช้แนวคิดลีนในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน คือ 3.1) ค้นหาปัญหาร่วมกัน 3.2) มองหาคุณค่า 3.3) งานไหลต่อเนื่องไม่ติดขัด 3.4) พร้อมส่งมอบเมื่อต้องการ และ 3.5) ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนากระบวนการ 4) จัดเยี่ยมและสำรวจภายในเพื่อกระตุ้นการพัฒนา 5) จัดเวทีแสดงผลงาน มีการพบปะพูดคุย 6) ประเมิน ติดตามผลการพัฒนา และ 7) เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระยะที่ 3 ผลกานำแนวคิดลีนมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 1) ทำแล้วคุณภาพเกิดกับผู้ป่วย 2) ผู้รับบริการพึงพอใจ ผู้ปฏิบัติงานมีความสุข 3) กระตุ้นความคิดเกิดนวัตกรรมใหม่ 4) หาโอกาสในการพัฒนาได้ต่อเนื่อง และ 5) ทำได้จริงจากสิ่งใกล้ตัว | en |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this qualitative research by case study approach was to describe the lean concept utilization in nursing service quality improvement. The hospital in this research was 1/5 of pilot hospitals participating in Demonstration Project for Lean Application in Health Industry. Informants were purposive selected, including 1) Dean of Quality Improvement Division. 2) Nursing Group. 3) Coordinator Group, total 18 persons. The data collection was conducted by the method of in-depth interviews that were tape recorded in combination with field notes, and result of this research was classified into 3 phases, as follows: Phase 1: Starting the project, the quality improvement in this phase was summarized as follows: 1) Inducement from Thailand Productivity Institute. 2) Notified public relation policy throughout the organization. 3) Considered the problem, benefit and participation. And 4) Actual training. Phase 2: Operation phase for leaning concept utilization in nursing service quality improvement was continuously operated in succeeding from phase 1 were summarized as follows: 1) Established Lean Committee for teaching. 2) Stimulated desire for continuous action from the success. 3) Applied lean concept for use in nursing service was classified into 5 processes as follows 3.1) Jointly thought about the problem. 3.2) Viewed it as the value. 3.3) Continuous operation and seamless. 3.4) Immediate respond upon required and 3.5) Continuous improvement for processes development. 4) Visited and surveyed to activate improvement. 5) Arranged stage to demonstrate work achievement, meeting and discussion. 6) Assessed, followed up improvement. And 7) Continuous learning and improvement. | en |
dc.format.extent | 6135946 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1034 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | บริการการพยาบาล -- การบริหาร | en |
dc.subject | การบริหารบริการด้านสุขภาพ | en |
dc.subject | โรงพยาบาล -- การบริหาร | en |
dc.subject | การผลิตแบบลีน | en |
dc.title | การใช้แนวคิดลีนในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลตติยภูมิ | en |
dc.title.alternative | Lean concept utilization in nursing service quality improvement : a case study of tertiary hospital | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การบริหารการพยาบาล | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | sboonjai@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.1034 | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
watchanapa_ch.pdf | 5.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.