Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29357
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิทยา สุจริตธนารักษ์ | - |
dc.contributor.author | ภูสิต สมจิตต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-07T04:04:44Z | - |
dc.date.available | 2013-03-07T04:04:44Z | - |
dc.date.issued | 2535 | - |
dc.identifier.isbn | 9745817406 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29357 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นกรณีศึกษาเฉพาะการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานปกครองท้องถิ่นคือองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตรเท่านั้น ข้อสรุปต่าง ๆ ที่ได้รับจึงเป็นเพียงตัวอย่างที่ชี้ให้เห็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในกระบวนการจัดสรรงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตรเท่านั้น ซึ่งผู้เขียนหวังว่าจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าสำหรับผู้ที่ให้ความสนใจเรื่องงบประมาณต่อไป ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ในกระบวนการจัดสรรงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตรเป็นไปได้ยากที่ฝ่ายบริหารจะยึดบรรทัดฐานในการจัดสรรงบประมาณอยู่บนพื้นฐานทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้เนื่องจากการจัดสรรในลักษณะเช่นนี้อาจจะไม่ได้รับการยอมรับจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องซึ่งจะส่งผลกระทบทำให้การจัดสรรงบประมาณไม่ลงตัว ด้วยเหตุนี้การจัดสรรงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตรจึงให้ความความสำคัญต่อการสร้างข้อยุติซึ่งเป็นที่ยอมรับจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้งบประมาณเป็นรูปร่างและสามารถนำมาใช้ได้ตามกำหนด กลวิธีอย่างหนึ่งที่ฝ่ายบริหารเลือกนำมาใช้คือการต่อรองและการประนีประนอมในการแบ่งสรรงบประมาณ ตลอดจนการสร้างกติกา หรือข้อตกลงที่เป็นที่ยอมรับจากทุกฝ่าย ข้อตกลงดังกล่าวอยู่บนพื้นฐานของการจัดสรรงบประมาณให้เท่าเทียมกันอย่างเป็นธรรม และในขณะเดียวกันฝ่ายบริหารก็จะต้องใช้กลวิธีต่าง ๆ ในการแสวงหาการสนับสนุนจากฝ่ายนิติบัญญัติเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ร่างข้อบัญญัติงบประมาณจะสามารถผ่านการพิจารณาจากสภาจังหวัดได้ ด้วยเหตุนี้เองจึงกล่าวได้ว่า การกำหนดงบประมาณของฝ่ายบริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตร ฝ่ายบริหารคำนึงถึงเหตุผลในทางการเมืองในการจัดสรรงบประมาณมากกว่าการใช้หลักวิชาการ | - |
dc.description.abstractalternative | This thesis is a case study of the budgetary allocation of the local administration, in this study, it is the Provincial Administration of Phichit. The conclusion from this study is an illustration of the budgetary allocation process of that province. For this reason, the purpose of the study is just to be a guide-line for other studies. The study reveals that, in budgetary allocation process of Phichit province, it is too difficult for the administration to apply the economic theory of allocation because of an inconsistency among all parties concerned. The budgetary allocation of Phichit Province puts emphasis on the solution being acceptable to all parties, in order that the budget can be shaped and spent in time. The strategies of allocation which the administrators of Phichit Province use, are a bargain and compromise as well as acceptable rules or agreements which are based on the balance of the budgetary allocation. At the same time, the administrators have some tactics for seeking supports from the legislator to rest assured that the draft of budget will be approved by the provincial council. In conclusion, the budgetary allocation of the Provincial Administration of Phichit is conducted with emphasis more on political rules than the rational economic theory. | - |
dc.format.extent | 4986128 bytes | - |
dc.format.extent | 30061183 bytes | - |
dc.format.extent | 9473844 bytes | - |
dc.format.extent | 22709232 bytes | - |
dc.format.extent | 3335066 bytes | - |
dc.format.extent | 8342132 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การเมืองในกระบวนการกำหนดงบประมาณของท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตร | en |
dc.title.alternative | The politics of budaet allocation in local government : a case study of Phichit pronince's admonistration | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การปกครอง | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phusit_so_front.pdf | 4.87 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phusit_so_ch1.pdf | 29.36 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phusit_so_ch2.pdf | 9.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phusit_so_ch3.pdf | 22.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phusit_so_ch4.pdf | 3.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phusit_so_back.pdf | 8.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.