Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29418
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรฉัตร สัมพันธารักษ์ | |
dc.contributor.advisor | สุรพล จิวาลักษณ์ | |
dc.contributor.author | พีชยา ทวีเลิศ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-08T06:10:50Z | |
dc.date.available | 2013-03-08T06:10:50Z | |
dc.date.issued | 2539 | |
dc.identifier.isbn | 9746361023 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29418 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ มีจุดประสงค์เพื่อประเมินการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มตอก ด้วยวิธีทดสอบแบบพลศาสตร์ (Dynamic pile load test) ในดินกรุงเทพ และจังหวัดระยอง โดยพิจารณาหาความสัมพันธ์ระหว่างผลการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีทดสอบแบบพลศาสตร์ กับแบบสถิตศาสตร์ หาอัตราส่วนการเปลี่ยนแปลงค่าการรับน้ำหนักของเสาเข็มโดยวิธีทดสอบแบบพลศาสตร์ ที่ restrike test ต่อ initial test เทียบกับเวลา เปรียบเทียบผลการประเมินการรับน้ำหนักของเสาเข็มเมื่อทดสอบด้วยวิธีแบบพลศาสตร์ กับผลการวิเคราะห์การรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีกลศาสตร์ของดิน โดยแยกพิจารณาเป็นแรงเสียดทานที่ผิวแรงธารที่ปลายเสาเข็ม และความสามารถในการรับน้ำหนักสูงสุด รวมทั้งได้พิจารณา parameters ที่มีผลต่อการวิเคราะห์ผลการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ประกอบด้วย 1.) ผลการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีแบบพลศาสตร์ 2.) ผลการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีแบบสถิตศาสตร์ (maintain load) 3.) ข้อมูลจากการเจาะสำรวจชั้นดิน จากข้อมูลที่ค่อนข้างจำกัด ผลการวิจัยนี้สรุปได้ว่า การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีแบบพลศาสตร์ เป็นวิธีประเมินผลการรับน้ำหนักของเสาเข็มที่ดีวิธีหนึ่ง โดยความสัมพันธ์ระหว่างผลการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มแบบพลศาสตร์ โดยใช้ (CAPWAPC Capacity, Y) กับวิธีทดสอบแบบสถิตศาสตร์ (Mazurkiewicz's method , x) ในดินกรุงเทพ คือY = 0.963 x ; R2 = 0.85 และในดินจังหวัดระยอง Y = 1.172 x ; R2 = 0.68 ซึ่งให้ค่า R2 ดีกว่าการใช้ค่าน้ำหนักสูงสุดจาก Mazurkiewicz's method ทั้งคู่ ส่วนอัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงการรับน้ำหนักของเสาเข็ม ที่ restrike test ต่อ initial test กับเวลา นั้น พบว่าขนาดเสาเข็มและชนิดของดินที่ปลายเสาเข็ม มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนการรับน้ำหนักของเสาเข็ม ซึ่งผลการวิจัยนี้พบว่าอาจเพิ่มหรือลดก็ได้ การเปรียบเทียบผลจากการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีแบบพลศาสตร์กับการวิเคราะห์ผลด้วยวิธีกลศาสตร์ของดิน พบว่า ในดินกรุงเทพ เสาเข็มตอกในโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมวังน้อย ค่าแรงเสียดทานที่ผิว แรงธารที่ปลายเสาเข็มและค่ากำลังรับน้ำหนักสูงสุดจากวิธีทั้งสอง บางต้นมีค่าใกล้เคียงกัน บางต้นแตกต่างกัน ส่วนเสาเข็มแรงเหวี่ยงโครงการทางด่วนสายรามอินทรา-อาจณรงค์ จะให้ค่ากำลังรับน้ำหนักต่าง ๆ จากทั้งสองวิธีมีความใกล้เคียงกันมาก สำหรับเสาเข็มในชั้นดินจังหวัดระยองค่ากำลังรับน้ำหนักสูงสุดจากทั้งสองวิธีจะให้ค่าใกล้เคียงกัน แต่ค่าแรงเสียดทานที่ผิว และแรงธารที่ปลายเสาเข็มค่อนข้างแตกต่างกัน สำหรับ parameters ที่มีผลต่อการวิเคราะห์ผลในการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ มากที่สุดค่าหนึ่งคือ total static resistance ส่วน dynamic parameters ตัวอื่น ๆ มีช่วงที่ค่อนข้างกว้าง | |
dc.description.abstractalternative | This research has the objective to evaluate the Dynamic pile load test for the driven pile in Bangkok and Rayong subsoils. The relationship between the result of pile bearing load from Dynamic pile load test method and Static pile load test method was considered, including of the differential ratio of pile load capacity from Dynamic pile load test when restrike test to initial test with time. The pile load capacities from Dynamic pile load test were compared with those evaluated from Soil mechanics method. In addition the parameters that influence in analysing pile load capacity in Dynamic pile load test were summarized. Data for research is composed of : 1) the result of pile load capacity from Dynamic pile load test ; 2) the result of pile load capacity from Static pile load test (maintain load) ; and 3) data from soil boring. Based on limiting data, the conclusion of research are: Dynamic pile load test is considered to be good method to evaluate pile load capacity. And the relationship between the result of pile bearing load from Dynamic pile load test by using CAPWAPC Capacity (Y) and Static pile load test by using Mazurkiewicz's method (X) in Bangkok subsoils is Y = 0.963 X ; R2 =0.85. For Rayong subsoils the relation is Y = 1.172 x ; R2 = 0.68. These values of R2 are better when using ultimate load based on Mazurkiewicz's failure criterion for both dynamic and static analysis. When considering, the differential ratio of pile load capacity at restrike test to initial test with time, it was found that pile size and type of soil at pile tip have an effect to change the ratio of pile load capacity. This ratio may increase or decrease. When the skin friction and end bearing load results from Dynamic pile load test and from Soil mechanics method were compared for Bangkok and Rayong subsoils. At Wangnoi, the comparisons show the ultimate load from both of methods are in good agreement in some piles. And some piles yield rather poor results. About spun piles at Ramindra-Atnarong Expressway Project, the comparisons yield good results. And piles in Rayong give the value of ultimate bearing load form both methods are about the same but the skin friction and end bearing load have different values. Regarding to the important of parameters that influence in analysing of the Dynamic pile load test result is input of the total static resistance. Other dynamic parameters have a wide range leading to the difficulty in selection. | |
dc.format.extent | 6054502 bytes | |
dc.format.extent | 1946736 bytes | |
dc.format.extent | 18569659 bytes | |
dc.format.extent | 5800432 bytes | |
dc.format.extent | 10492416 bytes | |
dc.format.extent | 3014638 bytes | |
dc.format.extent | 36792464 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การประเมินการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็ม ด้วยวิธีพลศาสตร์ในชั้นดิน กรุงเทพฯ และระยอง | en |
dc.title.alternative | Evluation of dynamic pile load test performance in Bangkok and Rayong subsoils | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Peechaya_th_front.pdf | 5.91 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Peechaya_th_ch1.pdf | 1.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Peechaya_th_ch2.pdf | 18.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Peechaya_th_ch3.pdf | 5.66 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Peechaya_th_ch4.pdf | 10.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Peechaya_th_ch5.pdf | 2.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Peechaya_th_back.pdf | 35.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.