Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29749
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โภคิน พลกุล | |
dc.contributor.advisor | ดำริห์ บูรณะนนท์ | |
dc.contributor.author | สุวิมล สังขพันธุ์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-13T09:50:34Z | |
dc.date.available | 2013-03-13T09:50:34Z | |
dc.date.issued | 2535 | |
dc.identifier.isbn | 9745798258 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29749 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2535 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเกี่ยวกับสถานะและผลทางกฎหมายของมติคณะรัฐมนตรี ประเภทของมติคณะรัฐมนตรี และบทบาทการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของมติคณะรัฐมนตรีโดยศาลยุติธรรมและคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ผลของการวิจัยพบว่า มติคณะรัฐมนตรีคือ การใช้อำนาจบริหารของคณะรัฐมนตรี ไม่มีสถานะเป็นกฎหมายตามแบบพิธี และไม่มีผลบังคับต่อประชาชน แต่ในระบบการบริหารราชการ มติคณะรัฐมนตรีมีสถานะทางกฎหมายเป็นคำสั่งภายในของฝ่ายบริหาร ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือส่วนราชการและข้าราชการ และมีอำนาจกำกับดูแลเหนือองค์กรกระจายอำนาจและเจ้าหน้าที่ของรัฐ มติคณะรัฐมนตรีที่เป็นการกำหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน จะมีลักษณะเป็น "งานนโยบาย" ที่คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบทางการเมืองร่วมกันต่อรัฐสภา แต่มติคณะรัฐมนตรีที่เป็นการกำหนดระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติราชการ จะมีลักษณะเป็น "งานประจำ" ซึ่งจะต้องถูกควบคุมและตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายโดยสถาบันฝ่ายกฎหมายปกครอง และอยู่ภายใต้หลักการที่ว่า "นิติกรรมทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย" ส่วนบทบาทการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของมติคณะรัฐมนตรีโดยศาลยุติธรรมนั้น พบว่าศาลยุติธรรมไม่ได้แยกความคิดทางกฎหมายปกครองเป็นพิเศษออกจากกฎหมายเอกชน ทำให้บทบาทการควบคุมโดยศาลยุติธรรมไม่เด่นชัดนัก และไม่มีแนวทางในการสร้างบรรทัดฐานหรือหลักกฎหมายปกครองให้แก่การบริหารราชการแต่อย่างใด ส่วนบทบาทการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของมติคณะรัฐมนตรีโดยคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์นั้น เนื่องจากพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ.2522 ได้จำกัดอำนาจในการรับเรื่องร้องทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับมติคณะรัฐมนตรีไว้ 2 ประการคือ เรื่องร้องทุกข์ที่มีลักษณะเป็นนโยบายโดยตรง ซึ่งคณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา และเรื่องที่คณะรัฐมนตรีมีมติเด็ดขาดแล้ว เป็นเรื่องร้องทุกข์ที่ไม่ให้รับไว้พิจารณา ทำให้บทบาทในการควบคุมโดยคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ จึงยังไม่สามารถกระทำได้โดยตรง | |
dc.description.abstractalternative | This paper aims to analyzing the legal status and consequences of the cabinet resolutions, the types of the cabinet resolutions and the role of the Court of Justice and the Petitions Council in controlling the legality of the cabinet resolution. The result of the analysis is that the cabinet resolutions are the exercise of the cabinet's executive power and having neither formal legislative status nor enforcement towards the public. Yet the cabinet resolutions are the integral part of general administrative offices which enforce the executive orders in controlling government units and officials as well as supervising other decentralized governmental agencies and officials. The cabinet resolutions which stipulate the policies for executing governmental affairs are "policy matters" for which the cabinet shall be collectively responsible to the House of Parliament. However, the cabinet resolutions only enforce the formalities and rules in exercising governmental affairs in "regular matters". The cabinet resolution shall be controlled and reviewed by the Administrative Law Institution and must adhere to the principle of legality of administrative act. On the role of the Courts of Justice in controlling the legality of the cabinet resolutions, it is found out that the Court of Justice does not specially separate concept of the administrative law from the private laws. This results in the controlling role by the Court of Justice not being conspicuous and in the lack of guidelines to constitute norms or legal principles for the execution of governmental affairs. On the controlling role of the legality of the cabinet resolutions by the Petitions Council, the controlling role cannot be directly executed because the Juridical Council Act B.E. 2522 limits the power in accepting petitions concerning the Cabinet resolutions. | |
dc.format.extent | 5409662 bytes | |
dc.format.extent | 5953201 bytes | |
dc.format.extent | 47945031 bytes | |
dc.format.extent | 63732798 bytes | |
dc.format.extent | 28248721 bytes | |
dc.format.extent | 45251376 bytes | |
dc.format.extent | 30723978 bytes | |
dc.format.extent | 7445786 bytes | |
dc.format.extent | 31406777 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | สถานะและผลทางกฎหมายของมติคณะรัฐมนตรี | en |
dc.title.alternative | Legal status and consequences of the resolutions of the cabinet | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suvimon_sa_front.pdf | 5.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_sa_ch1.pdf | 5.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_sa_ch2.pdf | 46.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_sa_ch3.pdf | 62.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_sa_ch4.pdf | 27.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_sa_ch5.pdf | 44.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_sa_ch6.pdf | 30 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_sa_ch7.pdf | 7.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_sa_back.pdf | 30.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.