Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29784
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉลอง สุนทราวาณิชย์ | - |
dc.contributor.author | ยอดยิ่ง รักสัตย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-14T16:46:48Z | - |
dc.date.available | 2013-03-14T16:46:48Z | - |
dc.date.issued | 2532 | - |
dc.identifier.isbn | 9745693772 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29784 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองในภาคเหนือ ของประเทศไทยที่มีผลให้เกิด"กบฏเงี้ยว" พ.ศ. 2445 จากการศึกษาพบว่า ปฏิกิริยาต่อต้านรัฐบาลสยามที่เกิดขึ้นในภาคเหนือในปี พ.ศ. 2445 ที่เรียก กันโดยทั่วไปว่า "กบฏเงี้ยวเมืองแพร่" มิใช้ปรากฏการณ์เดียวที่เกิดขึ้น และมิใช้เกิดขึ้นจากการกระทำของกลุ่นเงี้ยวหรือไทยใหญ่เพียงกลุ่มเดียว แต่เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการขยายอำนาจทางการเมือง การปกครองของรัฐบาลสยามได้กระทบต่อระบบเศรษฐกิจและการเมืองเดิมของภาคเหนือ ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองอันส่งผลกระทบต่อคนกลุ่มต่างๆ ในสังคมภาคเหนือโดยทั่วไป การต่อค้านการขยายอำนาจทางการเมืองการปกครองของรัฐสยามจึงมีปรากฏอยู่ในคนกลุ่มต่างๆ ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมืองที่เกิดขึ้น ส่งผลกระทบต่อคนกลุ่มต่างๆ ในระดับที่แตก ต่างกัน ปฏิกิริยาต่อต้านตอบโต้ของคนกลุ่มต่างๆ จงมีระดับที่แตกต่างกันไป ตามเงื่อนไขและโอกาสของกลุ่มนั้นๆ ว่าจะสามารถแสวงหาทางออกในแนวทางอื่นได้หรือไม่ บางกลุ่มก็มีปฏิกิริยาต่อต้านน้อยกว่ากลุ่มอื่น เพราะสามารถหันเหผลักดันผลกระทบนั้นไปสู่กลุ่มอื่น กลุ่มนี้ได้แก่กลุ่มเจ้านายภาคเหนือเดิน บางกลุ่ม ก็แสดงปฏิกิริยาที่รุนแรงร่วมกันกับกลุ่มอื่นเนื่องจากไม่สามารถแสวงหาทางออกในแนวทางอื่นได้ ซึ่งได้แก่ กลุ่มไทยใหญ่และราษฎรทั่วไปที่ร่วมกันแสดงปฏิกิริยาต่อต้านรัฐบาลสยามอย่างชัดเจนในเหตุการณ์ "กบฏเงี้ยว เมืองแพร่" | - |
dc.description.abstractalternative | This dissertation studies the politico-economic change in Northern Thailand which led to the Shan Rebellion of 1902. The result of the research show that the so-called "Shan Rebellion of Phrae" in 1902 was neither the sole reaction against the Siamese government, nor an exclusively Shan reaction, but a reaction caused by the impact of the expansion of the Siamese government's political power on Northern Thailand's old economics & political systems. This expansion led to political & economic changes which affected several groups of people in Northern Thailand, leading in turn to these groups' resistance to the aforesaid expansion. But the expansion of the central government's power affected the various groups in differing degrees, according to their circumstances or their possibilities of coping with the changes. The old Northern royalty resisted less than other groups because they were able to use other groups to cushion the effects of the changes. The other groups reacted violently to the changes, namely the Shans and the local populace who combined in resisting the Siamese government in the "Shan Rebellion of Phrae". | - |
dc.format.extent | 9016731 bytes | - |
dc.format.extent | 6025797 bytes | - |
dc.format.extent | 40027900 bytes | - |
dc.format.extent | 26258641 bytes | - |
dc.format.extent | 23286921 bytes | - |
dc.format.extent | 2283390 bytes | - |
dc.format.extent | 7840389 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจ ในภาคเหนือของประเทศไทยกับกบฏเงี้ยว พ.ศ.2445 | en |
dc.title.alternative | The politico-ecomomic change in Northern Thailand and the Shan Rebellion A.D.1902 | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ประวัติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Yodying_ra_front.pdf | 8.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yodying_ra_ch1.pdf | 5.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yodying_ra_ch2.pdf | 39.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yodying_ra_ch3.pdf | 25.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yodying_ra_ch4.pdf | 154.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yodying_ra_ch5.pdf | 22.74 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yodying_ra_ch6.pdf | 2.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yodying_ra_back.pdf | 7.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.