Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/297
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.advisorดิเรก ศรีสุโข-
dc.contributor.authorรัชดาภรณ์ สุราเลิศ, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-08T11:21:00Z-
dc.date.available2006-06-08T11:21:00Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741726503-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/297-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractทดสอบความสอดคล้องของโมเดลการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามแนวคิดผู้ทรงคุณวุฒิกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และเพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้รวมการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านตัวบ่งชี้และด้านการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจำนวน 11 คน และกลุ่มครูจากโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติจำนวน 874 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS ในการหาค่าสถิติพื้นฐานและใช้โปรแกรม LISREL 8.30 ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และองค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง เพื่อทดสอบความสอดคล้องของโมเดลการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในโรงเรียนประถมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า 1. ตัวบ่งชี้เดี่ยวสำหรับการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีจำนวนทั้งหมด 79 ตัว ครอบคลุม องค์ประกอบหลัก 5 ด้าน ได้แก่ 1) บรรยากาศ/สภาพแวดล้อมประกอบด้วยตัวบ่งชี้เดี่ยวจำนวน 11 ตัว 2) สื่อการเรียนการสอนประกอบด้วยตัวบ่งชี้เดี่ยวจำนวน 9 ตัว 3) ปัจจัยเบื้องต้นประกอบด้วยตัวบ่งชี้เดี่ยวจำนวน 13 ตัว 4) กระบวนการประกอบด้วยตัวบ่งชี้เดี่ยวจำนวน 35 ตัว และ 5) ผลผลิตประกอบด้วยตัวบ่งชี้เดี่ยวจำนวน 11 ตัว 2. โมเดลโครงสร้างการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในโรงเรียนประถมศึกษาตามแนวคิด ผู้ทรงคุณวุฒิ สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และได้ตัวบ่งชี้รวมการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับ โรงเรียนประถมศึกษาเรียงลำดับความสำคัญขององค์ประกอบหลัก จากมากไปน้อยคือ ปัจจัยเบื้องต้น สื่อการเรียนการสอน กระบวนการ ผลผลิต และบรรยากาศ/สภาพแวดล้อม 3. ตัวบ่งชี้รวมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในโรงเรียนประถมศึกษาสามารถเขียนให้อยู่ในรูป สมการ ดังนี้ ตัวบ่งชี้รวมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ = 0.32(Zลักษณะการจัดชั้นเรียน) + 0.25(Zการจัดสรร พื้นที่ชั้นเรียน) + 0.13(Zบรรยากาศการเรียนรู้) + 0.32(Zลักษณะสื่อการเรียนการสอน) + 0.28(Zการใช้สื่อ) + 0.26(Zการ วางแผนกิจกรรม) + 0.18(Zการเตรียมกิจกรรม) + 0.18(Zบทบาทในกระบวนการเรียนรู้) + 0.07(Zสัดส่วนของเวลาที่ใช้สอน) + 0.18(Zลักษณะกิจกรรมที่ผู้สอนจัด) + 0.11(Zพฤติกรรมของผู้สอนในการดำเนินกิจกรรม) + 0.13(Zลักษณะการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของผู้เรียน) + 0.12(Zพฤติกรรมของผู้เรียนในการร่วมกิจกรรม) + 0.23(Zการประเมินผล) + 0.27(Zผลที่คาดหวังในตัวผู้เรียน)en
dc.description.abstractalternativeTo develop and validate the composite indicators of the child centered instructional management in elementary schools. The samples consisted of 11 experts whose profression in educationnal indicators and child centered instruction and 874 teachers from Learning school Reform for Developing the Quality of Learners under the Jurisdiction of the Office of the National Primary Education Commission. The data of this research were collected by questionaire and analyzed by descriptive statistics through SPSS, and comfirmatory factor analysis, second order comfirmatory factor analysis were employed through LISREL 8.30. The following conclusion were drawn based on the finding of this research: 1) The disaggregative indicators of child centered instruction consisted of 5 factors and 79 indicators. The 5 factors consisted of 11 indicators of learning environment, 9 indicators of instructional media, 13 indicators of input, 35 indicators of process and 11 indicators of product. 2) The structural model of child centered instructional management in elementary schools were consistent with empirical data. The composite indicators of child centered instructional management in elementary school was consisted of 5 areas of instruction component, ranging from the highest factor loading, they were educational input, instructional media, process, product and learning environment. 3) The composite indicators of the child centered instructional management in elementary schools can be displayed in composite equation like CCHILD = 0.32(ZCLASS) + 0.25(ZFLOOR) + 0.13(ZAIRSTU) + 0.32(ZCMATT) + 0.28(ZUSEMAT) + 0.26(ZPLAN) + 0.18(ZPREPARE) + 0.18(ZROLEST) + 0.07(ZPTIME) + 0.18(ZACTEA) + 0.11(ZBEHTEA) + 0.13(ZACOOP)+ 0.12(ZBEHSTU) + 0.23(ZEVALU) + 0.27(ZEXPECT)en
dc.format.extent4355065 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.625-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางen
dc.subjectลิสเรลโมเดลen
dc.subjectตัวบ่งชี้ทางการศึกษาen
dc.titleการพัฒนาตัวบ่งชี้รวมการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในโรงเรียนประถมศึกษาen
dc.title.alternativeA development of the composite indicators of the child centered instructional management in elementary schoolsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.625-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ratchadaporn.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.