Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29801
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์ | |
dc.contributor.advisor | จิรนิติ หะวานนท์ | |
dc.contributor.author | มนต์ชัย ชนินทรลีลา | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-15T05:20:40Z | |
dc.date.available | 2013-03-15T05:20:40Z | |
dc.date.issued | 2537 | |
dc.identifier.isbn | 9745839515 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29801 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537 | en |
dc.description.abstract | การปล่อยชั่วคราวเป็นมาตรการทางกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองแก่สิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจำเลย ซึ่งได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่ามีความผิดตามกฎหมาย เพื่อให้เขาได้รับหลักประกันที่จำเป็นสำหรับการต่อสู้คดีพิสูจน์ความบริสุทธิ์ของตนเองได้อย่างเต็มที่ และยังเป็นการป้องกันมิให้มีการแสวงหาพยานหลักฐานจากเขาจนเกินสมควร หรือป้องกันการลงโทษเขาล่วงหน้าก่อนที่จะพิสูจน์ได้ว่ากระทำผิดจริง ควบคู่ไปกับการที่ให้ความคุ้มครองต่อความสงบเรียบร้อยของสังคมส่วนรวม ซึ่งจำเป็นต้องมีตัวผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดมาปรากฏในการพิจารณาและรับโทษ หากพิสูจน์ไค้ว่ากระทำผิดจริง จึงต้องควบคุมหรือขังผู้ต้องหาหรือจำเลยไว้เพื่อป้องกันมิให้เขาหลบหนี หรือไปก่อภยันตรายหรือความเสียหายต่อสังคมขึ้นอีก จากการศึกษาวิจัยผู้เขียนพบว่า มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวในปัจจุบัน ยังไม่ได้รับการบัญญัติคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจำเลยอย่างเพียงพอ แม้ในทางปฏิบัติศาล มักจะมีคำสั่งอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวโดยมีประกันและหลักประกันเป็นส่วนใหญ่ แต่ขอบเขตการใช้ดุลพินิจ ของศาลก็ยังขาดความชัดเจนอยู่มาก และในการปล่อยชั่วคราวศาลก็มักนำเอาประกันและหลักประกันมาเป็นเงื่อนไขสำคัญในการที่จะอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว ผู้เขียนจึงเห็นว่าควรที่จะแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ให้สิทธิผู้ต้องหาหรือจำเลยที่จะได้รับการปล่อยชั่วคราวเป็นหลักและห้ามการเรียกหลักประกันจนเกิน ควรแก่กรณีเอาไว้ ซึ่งจะทำให้ศาลฎีกาสามารถวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายนี้ให้เป็นบรรทัดฐานในการกำหนดขอบเขต และการควบคุมดุลพินิจให้ศาลล่างเดิมตามต่อไปได้ | |
dc.description.abstractalternative | Provisional Release is a legal measure for the protection of right and liberty of both the alleged offender and the defendant. Everyone charged with a penal offence has the right to be presumed innocent until proved guilty in a public trial. Provisional release is a measure that will preserve such right. It also protects the accused and the defendant from being forced to incriminate themselves and helps minimize the chance that they will be punished before proven guilty. Given the importance of provisional release, it should be noted that the right of the society to maintain peace and public order must also be taken into consideration. In certain circumstances, it is necessary to keep the accused in custody in order to prevent them from escaping or creating injury or danger to the public. As for the results of the research, it is discovered that the provisional release measure at present cannot adequately safeguard the rights and liberty of the people. Although in practice the court would in most cases allows provisional release by having bail or other valuable securities, but the scope and boundary of court's discretion in this matter are not guilt clear. In addition the court often rely on bail or other securities as condition for release. It is the opinion of the writer that provisional release should always be granted except in certain circumstances and that excessive bail should by prohibited. The law should be amended accordingly and, in particular, the supreme court should be allowed to review this matter so that guidelines and precedents be established for lower courts to follow. | |
dc.format.extent | 4924416 bytes | |
dc.format.extent | 5101567 bytes | |
dc.format.extent | 21108777 bytes | |
dc.format.extent | 26320805 bytes | |
dc.format.extent | 31059483 bytes | |
dc.format.extent | 5531589 bytes | |
dc.format.extent | 37229103 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ขอบเขตการใช้ดุลพินิจของศาลในการปล่อยชั่วคราว | en |
dc.title.alternative | Scope of judicial discretion in provisional release | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Monchai_ch_front.pdf | 4.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_ch_ch1.pdf | 4.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_ch_ch2.pdf | 20.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_ch_ch3.pdf | 25.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_ch_ch4.pdf | 30.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_ch_ch5.pdf | 5.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_ch_back.pdf | 36.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.