Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารี หิรัญรัศมี
dc.contributor.advisorวิมล รอดเพ็ชร
dc.contributor.authorอรวรรณ พลกำแหง
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-17T03:57:08Z
dc.date.available2013-03-17T03:57:08Z
dc.date.issued2535
dc.identifier.isbn9745810479
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29878
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอวิธีการบัญชีที่เหมาะสมสำหรับกิจการโคนม ในเรื่องการรับรู้รายได้ ค่าใช้จ่าย การคิดค่าเสื่อมสภาพโค และสินค้าคงเหลือ การดำเนินการวิจัยกระทำโดยการรวบรวมข้อมูลจากฝ่ายบัญชี และหน่วยงานอื่นขององค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) ซึ่งได้มีการศึกษาวิธีการปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับโคนมในเรื่องดังกล่าวข้างต้นที่ อ.ส.ค. ใช้อยู่รวมทั้งศึกษาระเบียบข้อบังคับเพื่อหาข้อบกพร่องมาใช้ในการวิเคราะห์หาแนวทางปฏิบัติทางการบัญชีที่เหมาะสมต่อไป จากผลการศึกษาพบว่า อ.ส.ค. บันทึกการรับรู้รายได้ และค่าใช้จ่ายในระหว่างงวดบัญชีสำหรับรายการที่เกี่ยวข้องกับ การเกิด การซื้อ การขาย การบริจาค การตาย และการส่งโคเข้าโรงงานเนื้อเพียงบางรายการเท่านั้นโดยเปิดบัญชีกำไรขาดทุนจากการประเมินค่าฝูงโคเพียงบัญชีเดียวเพื่อการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายจากทุกรายการที่เกิดขึ้น ทำให้ไม่สามารถแยกแสดงผลกำไรหรือขาดทุนของแต่ละประเภทได้อย่างชัดเจน การคิดค่าเสื่อมสภาพโคใช้อัตราที่กำหนดขึ้นโดยนักวิชาการ และสินค้าคงเหลือใช้วิธีตรวจนับโคคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดและประเมินค่าฝูงโคตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น ผู้วิจัยขอเสนอแนะว่า อ.ส.ค. ควรปรับปรุงวิธีปฏิบัติทางบัญชีที่เกี่ยวข้องให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น โดยบันทึกรายได้และค่าใช้จ่ายทันทีที่เกิดการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับโคนม และผ่านรายการไปยังบัญชีย่อยที่เปิดเพิ่มขึ้นเฉพาะแต่ละรายการ ซึ่งจะเป็นผลทำให้สามารถแยกแสดงผลกำไรหรือขาดทุนของแต่ละประเภทได้อย่างชัดเจน การคิดค่าเสื่อมสภาพโคนมควรใช้วิธีปริมาณผลผลิตน้ำนมเป็นฐานในการคำนวณการตีราคาสินค้าคงเหลือควรใช้วิธียอดคงเหลือที่ปรากฏตามบัญชี อันจะเป็นผลทำให้ผู้บริหารสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และประหยัด
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to present proper accounting method for Dairy Farming. The study emphasizes on the accounting procedures for revenue recognition, expenses, inventory and depreciation methods and was carried out by obtaining the data from the existing accounting procedures and from other related sections of Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O) as mentioned above, and tried to indicate the weak point of each activity. It was found that, for revenues and expenses, the transactions of the newborn calf and the sales, purchases, donation, killing off and etc, of dairy are partially recorded during the year. Consequently, profits and losses from dairy account cannot be clearly identified since they will be summarized in the “profit and loss account of dairys” only. In addition, one officer estimates the depreciation expense using his own experience. Dairys also uses the physical counts at the end of the year to record the ending inventory under the periodic inventory method. It is recommended that D.P.O should adopt the new accounting procedures of recording every the transactions immediately, when they occurred. The new approach should be applied by recording and posting the transactions to the related separating specific accounts. The calculation of depreciation for the dairy should base on the total amount of milk produced in that year. For inventory, the ending inventory should be the remaining in this account at the end of the year. By this way, profits and losses can be monitored more specific and meaningful, Consequently , the accounting information will better facilitate manager decision making.
dc.format.extent6756514 bytes
dc.format.extent2534283 bytes
dc.format.extent20129631 bytes
dc.format.extent4834384 bytes
dc.format.extent96661432 bytes
dc.format.extent2968651 bytes
dc.format.extent24833717 bytes
dc.format.extent16087352 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการบัญชีกิจการโคนม : กรณีศึกษาสำหรับองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทยen
dc.title.alternativeDairy farm accounting a case study for dairy farming promotion organization of Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameบัญชีมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบัญชีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Orawan_ph_front.pdf6.6 MBAdobe PDFView/Open
Orawan_ph_ch1.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open
Orawan_ph_ch2.pdf19.66 MBAdobe PDFView/Open
Orawan_ph_ch3.pdf4.72 MBAdobe PDFView/Open
Orawan_ph_ch4.pdf94.4 MBAdobe PDFView/Open
Orawan_ph_ch5.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open
Orawan_ph_ch6.pdf24.25 MBAdobe PDFView/Open
Orawan_ph_back.pdf15.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.