Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29890
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กริช สืบสนธิ์ | |
dc.contributor.author | อรสา ปานขาว | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-17T04:04:00Z | |
dc.date.available | 2013-03-17T04:04:00Z | |
dc.date.issued | 2527 | |
dc.identifier.isbn | 9745636525 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29890 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการยอมรับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ โดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากรกับ อัตราการเปิดรับสารทางด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ ความรู้ ทัศนคติและความพึงพอใจต่อสารดังกล่าว และอีกส่วนหนึ่งคือ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเปิดรับสารด้านการป้องกันยาเสพทางวิทยุและโทรทัศน์กับ ความรู้ ทัศนคติ และความพึง พอใจต่อสารดังกล่าว ซึ่งได้ทำการศึกษาบิดามารดา และเยาวชนนอกสถานศึกษา ในชุมชนแออัดคลองเตย เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร จำนวน 315 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความสัมพันธ์ในด้านจำนวนร้อยละ (Chi-Square Test) ผลต่างของคะแนนเฉลี่ย (t-test) การ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way analysis of variance) ซึ่งประมวลผลโดยใช้คอมพิวเตอร์ในโปรแกรมสำเร็จรูป ทางสังคมศาสตร์ (Statistical Package for the Social Science หรือ SPSS) ผลการวิจัยพบว่า 1.มีความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะด้านประชากรกับอัตราการเปิดรับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ดังนี้ 1.1 ผู้ที่มีสถานภาพแตกต่างกันเปิดรับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุในอัตราที่แตกต่างกัน แต่เปิดรับสารดังกล่าวทางโทรทัศน์ในอัตราที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 1.2 ผู้ที่มีเพศ การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ต่างกันเปิดรับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ในอัตราที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 1.3 ผู้ที่มีอายุแตกต่างกัน เปิดรับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ในอัตราที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 1.4 ผู้ที่มีขนาดครอบครัวแตกต่างกัน เปิดรับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุในอัตราที่ไม่แตกต่างกัน และเปิดรับสารดังกล่าวทางโทรทัศน์ในอัตราที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. มีความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะด้านประชากรกับความรู้เกี่ยวกับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ ดังนี้ 2.1 ผู้ที่มีสถานภาพ การศึกษา แตกต่างกันมีความรู้เกี่ยวกับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2.2 ผู้ที่มีเพศ อายุ ขนาดครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ แตกต่างกันมีความรู้เกี่ยวกับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3.มีความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะด้านประชากรกับทัศนคติต่อสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ ดังนี้ 3.1 ผู้ที่มีสถานภาพการศึกษา อายุ แตกต่างกัน มีทัศนคติต่อสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3.2 ผู้ที่มีเพศ ขนาดครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ แตกต่างกัน มีทัศนคติต่อสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. มีความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะด้านประชากรกับความพึงพอใจต่อสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุและโทรทัศน์ ดังนี้ 4.1 ผู้ที่มีสถานภาพ เพศ การศึกษา อายุ แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อสารด้านการป้องกันยาเสพติทางวิทยุและโทรทัศน์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4.2 ผู้ที่มีขนาดครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อสารด้านการป้องกันยาเสพติดไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5.ความรู้เกี่ยวกับสารด้านการป้องกันยาเสพติด ไม่มีความแตกต่างกันตามอัตราเปิดรับสารทางวิทยุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ความรู้เกี่ยวกับสารดังกล่าวมีความแตกต่างกันตามอัตราการเปิดรับสารทางโทรทัศน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 6.ทัศนคติต่อสารด้านการป้องกันยาเสพติด ไม่มีความแตกต่างกัน ตามอัตราการเปิดรับสารทางวิทยุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และทัศนคติต่อสารดังกล่าวมีความแตกต่างกันตามอัตราการเปิดรับทางโทรทัศน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 7. ความพึงพอใจต่อสารด้านการป้องกันยาเสพติด มีความแตกต่างกันตามอัตราการเปิดรับสารดังกล่าวทางวิทยุและโทรทัศน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study is to get information concerning the acceptance behavior to drug preventive message from radio and television. The study puts the emphasis on the relationships of some characteristics of the population with the frequency of exposure to drug preventive message from radio and television, knowledge, attitude, and satisfaction to the gained message. The relationships of the frequency of exposure to drug preventive message from radio and television with knowledge, attitude and satisfaction to the received message is also investigated. Three hundred and fifteen parents and out - 0f – school youths in the crowded Klongtoey area are systematically selected. Standardized interviews and questionnaires are used to collect the data for this study. Percentage, chi – square, t –test, one –way analysis of variance are employed to analyze the data. Data analysis is processed through Statistical Package for the Social Science (SPSS) The results of this study indicate that : 1. Relationships between some characteristics of the population and the frequency of exposure to drug preventive message from radio television exists as follow : 1.1 People with different status are found significant in the frequent exposure to drug preventive message from radio. But the exposure frequency to such message from television is found insignificant. 1.2 People with different sexes, education attainments, and economic status are found insignificant in their exposure frequency to drug preventive message from radio and television. 1.3 People with different ages are found significant in their exposure frequency to drug preventive massage from radio and television. 1.4 People with different family sizes are found insignificant their exposure frequency to drug preventive message from radio. But exposure frequency to such message is significant in case of television. 2. Relationships between some characteristics of the population and knowledge about drug preventive message from radio and television are found as follows : 2.1 People with different status and education attainments have different knowledges about drug preventive massage received from radio and television. 2.2 People with different sexes, ages, family sizes and economic status do not have different knowledge about drug preventive message from radio and television. 3. Relationships between some characteristics of the population and attitude toward drug preventive message from radio and television are found as follows : 3.1 People with different status, ages and education attainments have different attitude toward drug preventive message received from radio and television. 3.2 People with different sexes, family sizes, and economic status do not have different attitude toward drug preventive message from radio television. 4. Relationships between some characteristics of the population and satisfaction with drug preventive message from radio and television are found as follows : 4.1 People with different status, sexes, ages, and education attainments are satisfied differently with drug preventive message received from radio and television. 4.2 People with different family sizes and economic status are found insignificantly satisfied with drug preventive message received from radio and television. 5. Knowledge about drug preventive message is found un different with the exposure frequency to drug preventive message from radio but some significance is found in case of exposure to the television. 6. Attitude toward drug preventive message is found un different when expose the message from the radio, but attitude is different when expose the message from television. 7. Different exposure frequency to drug preventive message from radio and television causes different satisfaction to the received message | |
dc.format.extent | 7578888 bytes | |
dc.format.extent | 7304674 bytes | |
dc.format.extent | 18010694 bytes | |
dc.format.extent | 5327052 bytes | |
dc.format.extent | 22044473 bytes | |
dc.format.extent | 9521724 bytes | |
dc.format.extent | 32136462 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | พฤติกรรมการยอมรับสารด้านการป้องกันยาเสพติดทางวิทยุ และโทรทัศน์ของประชาชน ในเขตชุมชนแออัดคลองเตย | en |
dc.title.alternative | The acceptance behavior of the people in slum klongtoey area to drug preventive message from radio and television | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การประชาสัมพันธ์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Orasa_pan_front.pdf | 7.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Orasa_pan_ch1.pdf | 7.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Orasa_pan_ch2.pdf | 17.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Orasa_pan_ch3.pdf | 5.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Orasa_pan_ch4.pdf | 21.53 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Orasa_pan_ch5.pdf | 9.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Orasa_pan_back.pdf | 31.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.