Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมั่นสิน ตัณฑุลเวศม์-
dc.contributor.authorทัศนีย์ แซ่เตีย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-03-17T15:03:15Z-
dc.date.available2013-03-17T15:03:15Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745679003-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29903-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractความมุ่งหมายในการศึกษางานวิจัยนี้ เพื่อนำเอาระบบแอกทิเวตเตดสลัดจ์แบบดีไนตริฟิเคชันเกิดทีหลัง มาใช้ในการกำจัดสารประกอบไนโตรเจนที่มีอยู่ในน้ำเสีย โดยทำการทดลองกับน้ำเสียสังเคราะห์ที่เตรียมขึ้นจากน้ำตาลและสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยกำหนดให้ความเข้มข้นของ ซีโอดี มีค่าคงที่ในทุกการทดลองประมาณ 500 มก./ล. และความเข้มข้นของสารประกอบไนโตรเจนประมาณ 25, 50 และ 100 มก./ล. เพื่อให้อัตราส่วนระหว่าง ซีโอดี และสารประกอบไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ 100:5, 100:100 และ 100:20 ตามลำดับ จากผลการทดลองสรุปได้ว่า ระบบแอกทิเวตเตดสลัดจ์แบบดีไนตริฟิเคชันเกิดทีหลัง มีประสิทธิภาพในการกำจัด ซีโอดี ได้ประมาณ 94-100% สำหรับความสามารถในการกำจัดสารประกอบไนโตรเจนของระบบนั้น ในกรณีที่น้ำเสียสังเคราะห์มีอัตราส่วนระหว่าง ซีโอดี ต่อสารประกอบไนโตรเจนเท่ากับ 100:5 และ 100:10 ระบบฯ จะสามารถกำจัดสารประกอบไนโตรเจนได้ประมาณ 62-85% และเมื่ออัตราส่วนระหว่าง ซีโอดี ต่อ สารประกอบไนโตรเจน เพิ่มขึ้นเป็น 100:20 ระบบฯ จะกำจัดสารประกอบไนโตรเจนในน้ำเสียได้น้อยมาก แต่อย่างไรก็ตาม ในทุกการทดลองระดับของการเกิดปฏิกิริยาไตตริฟิเคชันจะมีค่าสูง-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to utilize the post denitrification activated sludge system for the removal of the nitrogen compounds (N) in the wastewaters. The synthetic wastewaters was prepared from the ordinary cane sugar and other necessary mineral nutrients. In all experiment, the COD concentration of the wastewaters was fixed constant at approximate 500 mg/l. However, the TKN content was varied at 3 levels, i.e. 25, 50 and 100 mg/l which made the COD:N ratio varying at 100:5, 100:10 and 100:20 respectively. The experiment results revealed that the system could removal approximate 94-100% of COD. However the nitrogen removal was approximate 65-85% at two experiments having the COD:N ratio of 100:5 and 100:10. When the COD:N ratio was increased to 100:20, only small proportion of the nitrogen was removed. Nevertheless, in all cases the nitrification reactions occurred very well.-
dc.format.extent11628129 bytes-
dc.format.extent4616462 bytes-
dc.format.extent4408252 bytes-
dc.format.extent8888809 bytes-
dc.format.extent5604141 bytes-
dc.format.extent729449 bytes-
dc.format.extent3888018 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการกำจัดไนโตรเจนด้วยระบบแอกทิเวตเตดสลัดจ์ แบบดีไนตริฟิเคชันเกิดที่หลังen
dc.title.alternativeNitrogen removal by post-denitrification activated sludge systemen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมแหล่งน้ำes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tassanee_sa_front.pdf11.36 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_sa_ch1.pdf4.51 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_sa_ch2.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_sa_ch3.pdf8.68 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_sa_ch4.pdf5.47 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_sa_ch5.pdf712.35 kBAdobe PDFView/Open
Tassanee_sa_back.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.