Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29964
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นันทิกา ทวิชาชาติ | |
dc.contributor.advisor | สุมนา ชมพูทวีป | |
dc.contributor.author | อร่ามศรี เกสจินดา | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-18T03:04:11Z | |
dc.date.available | 2013-03-18T03:04:11Z | |
dc.date.issued | 2537 | |
dc.identifier.isbn | 9745844225 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29964 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของการให้สุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มแก่ญาติผู้ป่วยจิตเภทต่อความวิตกกังวล ศึกษาเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของระดับความวิตกกังวลก่อนและหลังการให้สุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่ม โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ป่วยจิตเภทที่เคยรับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลศรีธัญญา ในระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2534 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2534 จำนวน 50 ราย การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างประชากรออกเป็น 2 กลุ่ม โดยการสุ่ม คือ กลุ่มทดลอง ซึ่งได้รับการให้สุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มจากผู้วิจัย และกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้เข้ากลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยแบบวัดความวิตกกังวลโดยใช้แบบทดสอบความวิตกกังวล ของสไปล์เบอร์เจอร์ (Spielberger) มีชื่อว่า The State Trait Anxiety Inventoly (STAI) แบบสเตรทและแบบเทรท ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างความวิตกกังวลของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้ paired t – test และ unpaired t – test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ญาติผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับสุขภาพจิตศึกษามีความวิตกกังวลแบบ สเตท ลดลงโดยที่กลุ่มทดลองมีคะแนนความวิตกกังวลลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และกลุ่มควบคุมมีคะแนนความวิตกกังวลลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมนัยสำคัญ ที่ระดับ 0.05 2. ญาติผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับสุขภาพจิตศึกษามีความวิตกกังวลแบบเทรทลดลง แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to evaluate the effects of group psychocducation on schizophrenic relatives to changing on anxicty level. Experimental design was used. The subjects consisted of 50 schizophrenic relatives whose patient has been admitted in the inpatient department in Srithanya hospital during January 1, 1991 – June 30, 1991. The research samples were assigned by into 2 group, composing experimental group and controlled group. The experimental group had received group psychoeducation. The research instrument was the Spielberger, The State Trait Anxiety Inventory (STAI) State Form and Trait Form. Data were analyzed by using arithematic means, Standard deviation, paired t – test and unpaired t – test. The analysis of the gathered data revealed the following findings. 1. The state anxiety level of experimental group was decreased statistically significant at 0.01 and controlled group was decreased statistically significant at 0.05. When comparing between two groups, the state anxiety level was not statistically significant different at 0.05 level. 2. The trait anxiety level of experimental group was decreased statistically significant different at 0.01 level comparing with controlled group. | |
dc.format.extent | 3514596 bytes | |
dc.format.extent | 4741146 bytes | |
dc.format.extent | 13531676 bytes | |
dc.format.extent | 3904599 bytes | |
dc.format.extent | 2933427 bytes | |
dc.format.extent | 5626086 bytes | |
dc.format.extent | 13493032 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ผลของการให้สุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มแก่ญาติผู้ป่วยจิตเภท ต่อความวิตกกังวล | en |
dc.title.alternative | Effects of group psychoeducation on schizophrenic relative to anxlety | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตเวชศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Aramsrl_ke_front.pdf | 3.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Aramsrl_ke_ch1.pdf | 4.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Aramsrl_ke_ch2.pdf | 13.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Aramsrl_ke_ch3.pdf | 3.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Aramsrl_ke_ch4.pdf | 2.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Aramsrl_ke_ch5.pdf | 5.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Aramsrl_ke_back.pdf | 13.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.