Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30053
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรเกียรติ์ เสถียรไทย | |
dc.contributor.author | ไพสิฐ พาณิชย์กุล | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-19T09:29:24Z | |
dc.date.available | 2013-03-19T09:29:24Z | |
dc.date.issued | 2534 | |
dc.identifier.isbn | 9745792616 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30053 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en |
dc.description.abstract | ปิโตรเลียมเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ ต่อสังคมและการเมืองของประเทศต่าง ๆ ประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลายต่างต้องการที่จะทำการสำรวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม เพื่อนำมาเป็นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แต่เนื่องจากในการสำรวจและพัฒนานั้นต้องใช้ทุนสูง และความเสี่ยงในการลงทุนก็สูงด้วยด้วยกัน อีกทั้งยังจำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือ เทคโนโลยีชั้นสูง ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่างๆ ตลอดทั้งกระบวนการ ปัจจัยเหล่านี้ส่วนใหญ่แล้วจะอยู่ในความครอบครองของบริษัทน้ำมันเอกชนต่างชาติ ประเทศกำลังพัฒนาที่ต้องการจะพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม โดยยังคงพึ่งปัจจัยสำคัญต่างๆ จากบริษัทน้ำมันเอกชนต่างชาติ ต่างก็พยายามที่จะสร้างระบบการใช้สิทธิในการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม ซึ่งอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ระบบใหญ่ๆ คือ ระบอบสัมปทานและระบอบสัญญา ในแต่ละระบอบนั้นอาจแบ่งเป็นระบบย่อยได้อีก ในการศึกษาวิจัยนี้จะศึกษาเฉพาะระบบสัมปทาน ระบบสัญญาแบ่งเป็นผลผลิต และระบบสัญญา จ้างเหมาะประเภทที่ผู้ลงทุนจะต้องรับภาระความเสี่ยงในการดำเนินการ และนอกจากนั้น รัฐยังใช้วิธีการเข้าไปร่วมดำเนินการสำรวจและพัฒนา และผลิตกับบริษัทน้ำมันเอกชนที่ได้รับสิทธิด้วย จากการศึกษาระบบการให้สิทธิประเภทต่างๆ พบว่า ในทุกระบบต่างมีพัฒนาการมาจากการให้ สิทธิในรูปของสัมปทานแบบดั่งเติมทั้งสิ้น ต่อมาเมื่อสถานการณ์และปัจจัยต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป ประเทศที่มีการใช้สิทธิในการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม ต่างก็พยายามที่จะพัฒนาระบบการให้สิทธิในรูปแบบต่างๆ ดังที่ ปรากฏในปัจจุบันนี้ และจากการศึกษาระบบเหล่านี้พบว่า ในแต่ละระบบต่างๆ ก็ให้ประโยชน์ต่อรัฐในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน จะแตกต่างก็ในแง่ของอัตราการเรียกเก็บ และการเลือกใช้จังหวะเวลาในการนำเอาเงื่อนไขของการเรียกเก็บ ผลประโยชน์มาใช้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และวัตถุประสงค์ตานที่รัฐเห็นสมควร ส่วนจะใช้ระบบใดนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ที่จะต้องคำนึงถึง เช่น ข้อมูลของโครงสร้างทางธรณีวิทยา พัฒนาการของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในประเทศนั้นๆ นโยบายทางด้านปิโตรเลียมของรัฐ ระบอบการปกครอง ตลอดจนความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ และทางการเมืองของประเทศนั้น | |
dc.description.abstractalternative | Petroleum deposit has been vital to economic, social and political development of any given economy. All the developing countries are well aware of the role petroleum plays in its development process. However, investment & exploration in any petroleum project require intensive and costly financial commitment as well as high technology and other capital outlay. The availability of these factors are mainly dependent on participation from giant multinational corporations. While petroleum deposit lies in national sovereignty and jurisdiction, the exploration & production technique are in the hands of those multinational corporations. As a result, most of the developing countries devised a wide varieties of concessionary arrangement and/or contractual arrangement to attract foreign investment in petroleum exploration & production. This thesis focuses mainly on concession arrangements and production sharing agreement in which investor bear substantial operation risk. Moreover, this thesis analyses joint venture arrangement that allow a state to participate in exploration, development and production with multinational licensees. From a study, it is found that all of the arrangements are developed from a concession concept. However, changes in economic, political and social environment force States to modify traditional concession contracts. It is found that nearly all of the arrangements provide similar return to States, conditions, terms of payment, rate of payment. Finally, a state has wide varieties of options to choose in order to correspond to its economic, social, political development and national petroleum policy. | |
dc.format.extent | 6410138 bytes | |
dc.format.extent | 2577744 bytes | |
dc.format.extent | 29980823 bytes | |
dc.format.extent | 70207437 bytes | |
dc.format.extent | 26395539 bytes | |
dc.format.extent | 3576788 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ผลประโยชน์ต่อรัฐจากระบบการใช้สิทธิในการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม | en |
dc.title.alternative | Government Take in Different Systems of Licensing Petroleum Operation | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Paisit_pa_front.pdf | 6.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paisit_pa_ch1.pdf | 2.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paisit_pa_ch2.pdf | 29.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paisit_pa_ch3.pdf | 68.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paisit_pa_ch4.pdf | 25.78 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paisit_pa_back.pdf | 3.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.