Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30055
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญ-
dc.contributor.authorภูมินทร์ แจ่มเชื้อ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-03-19T09:37:10Z-
dc.date.available2013-03-19T09:37:10Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30055-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้ได้ศึกษากระบวนการดรายในกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก โดยการศึกษาความสัมพันธ์ของของเสียฟองอากาศในพลาสติกไนลอนพอลีเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำกับเงื่อนไขของกระบวนการดรายซึ่งได้แก่ ความเร็วของลูกกลิ้ง อุณหภูมิของเตาอบและแรงดึงพลาสติก โดยใช้วิธีการพื้นผิวตอบสนอง ( Respond Surface Analysis ) ด้วยการออกแบบการทดลองแบบ Box-Behnken design ซึ่งสมการแสดงความสัมพันธ์ของเงื่อนไขกระบวนการดรายกับของเสียฟองอากาศจะแสดงด้วยฟังก์ชันกำลังสอง โดยพบว่าเงื่อนไขในกระบวนการดรายที่เหมาะสมจะส่งผลให้ปริมาณของเสียฟองอากาศมีปริมาณน้อยที่สุดที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % จากการศึกษาพบว่าเมื่อความเร็วลูกกลิ้งมากขึ้นจะทำให้เกิดของเสียฟองอากาศลดลงเนื่องจากเมื่อพลาสติกมีความตึงฟองอากาศที่เกิดขึ้นจะไม่ถูกเก็บไว้บนผลิตภัณฑ์แต่เมื่อพลาสติกตึงเกินไปเนื่องจากแรงดึงพลาติกที่มากจะส่งผลให้พลาสติกเกิดการขยายและหดตัวทำให้เกิดของเสียฟองอากาศที่มากและในขณะที่เมื่ออุณหภูมิของเตาอบมากขึ้นจะทำให้ปริมาณของเสียฟองอากาศมีปริมาณลดลงเนื่องจากเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นตัวทำละลายสามารถระเหยได้ดีแผ่นพลาสติกมีการเชื่อมติดกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และค่าที่เหมาะสมที่ทำให้เกิดของเสียฟองอากาศน้อยสุดคือความเร็วลูกกลิ้ง 150 รอบต่อนาที แรงดึงพลาสติก 400 นิวตันและอุณหภูมิเตาอบ 85 องศาเซลเซียสen
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to investigate the drying process for the dry laminates. The relations of the bubble defects in nylon - linear low density polyethylene ( NY-LLDPE) film and the drying parameters (oven temperature, roller speed and tension force) are examined by using the Response Surface Analysis with the Box-Behnken design. The model to predict the bubble defects is represented by the second-order response function. The experimentally obtained model clearly shows that the all drying conditions are the significant factors on the bubble defects. It has been proved that the developed bubble defects prediction model can be effectively used to predict the bubble defects with the 95% confident level. The optimum drying condition, which is determined and obtained based on the consideration of the minimum bubble defects, is at the roller speed of 150 rpm, the tension force of 400 V, and the oven temperature of 85 Celcius degree.en
dc.format.extent2931038 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1129-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการจัดการโรงงานen
dc.subjectอุตสาหกรรมการบรรจุหีบห่อ -- การควบคุมคุณภาพen
dc.subjectบรรจุภัณฑ์พลาสติก -- การควบคุมคุณภาพen
dc.subjectอุตสาหกรรมพลาสติก -- การควบคุมคุณภาพen
dc.subjectบรรจุภัณฑ์พลาสติก -- ข้อบกพร่องen
dc.titleการลดฟองอากาศในกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกen
dc.title.alternativeReduction of bubble defects in plastic packaging production processen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomkiat.T@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1129-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
poomin_ja.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.