Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30081
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระพงษ์ บุญโญภาส | - |
dc.contributor.author | ปรีดิ์มนัส มุสิกะนุเคราะห์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-20T03:00:53Z | - |
dc.date.available | 2013-03-20T03:00:53Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30081 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en |
dc.description.abstract | เสรีภาพในการชุมนุมถือเป็นเป็นเสรีภาพพื้นฐานอย่างหนึ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฐหลายรัฐจึงบัญญัติรับรองเสรีภาพประเภทนี้ไว้ในรัฐธรรมนูญเพื่อเป็นหลักประกันการใช้เสรีภาพนี้ของประชาชน อย่างไรก็ตามเสรีภาพการชุมนุมนั้น ก็ไม่ใช้เสรีภาพประเภทเสรีภาพแบบเด็ดขาดที่จะจำกัดสิทธิมิได้ ดังนั้นการจำกัดเสรีภาพประเภทนี้ย่อมทำได้หากว่าเพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคมหรือบ้านเมือง เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน เป็นต้น จากการศึกษาพบว่าในปัจจุบันประเทศไทยได้มีการบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพการชุมนุมไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 63 ซึ่งวางหลักไว้ว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการชุมนุมแต่ต้องกระทำโดยสงบโดยสงบและปราศจากอาวุธ อย่างไรก็ตามเนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่ได้มีกฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมโดยตรง โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการกำหนดความผิดเกี่ยวกับการชุมนุมที่มิชอบด้วยกฎหมาย ตลอดจนการควบคุมการชุมนุมที่มิชอบด้วยกฎหมายนั้น ดังนั้นในปัจจุบันการปรับฐานความผิดตลอดจนการควบคุมการชุมนุมจึงมักอาศัยกฎหมายฉบับอื่นมาปรับ เช่น ประมวลกฎหมายอาญา,พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 , พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.2535 เป็นต้น แต่เนื่องจากกฎหมายเหล่านี้ไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อความผิดเกี่ยวกับการชุมนุมโดยตรง ดังนั้นจึงย่อมทำให้การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เป็นไปด้วยความลำบาก และแม้ในปัจจุบันจะได้มีการยกร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. .... โดยสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตลอดจนผ่านความเห็นชอบจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแล้ว แต่ปรากฎว่าร่างกฎหมายดังกล่าวยังมีปัญหาการบังคับใช้อยู่มาก เช่น การบัญญัติความผิดยังไม่ครอบคลุมความผิดทั้งหมดเพียงพอ ดังนั้นจึงสมควรที่จะมีการพิจารณาร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายในภายหน้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ | en |
dc.description.abstractalternative | Freedom of assembly is the important basis principle in the country, which adopts a democratic regime of government. Therefore, many countries recognize it in the constitution to confirm there’s civilian right. However freedom of assembly is not absolute rights, it’s also restricted by virtue of law, such as for public order, public safety etc. The study finds that at present time, The Constitution of the Kingdom of Thailand also maintains the freedom of assembly in section 63 “A person shall enjoy the liberty to assemble peacefully and without arms.” But Thailand still has no public assembly act anyways. Hence, an unlawful assembly shall fall within the scope of the penal code, traffic act, highway act, etc. But these laws are not suitable for applying to unlawful assembly, because their functions are not designed for solving this problem. Thus, the government’s authority feel difficulties to resolve, prevent and restore such situation back to normalcy and peace. Even though nowadays Thailand is legitimated the draft assembly act by the council of state and member of the house of representatives, their functions are still have problem e.g. legislating is not covered all unlawful assembly guilty. Hence, this draft should reexamine again. | en |
dc.format.extent | 1255182 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1132 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สิทธิการชุมนุม -- ไทย | en |
dc.subject | เสรีภาพในการแสดงออก -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en |
dc.subject | เสรีภาพในการพูด -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en |
dc.subject | การเดินขบวน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en |
dc.subject | การชุมนุมสาธารณะ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en |
dc.subject | ความรุนแรงทางการเมือง -- ไทย | - |
dc.subject | การบังคับใช้กฎหมาย -- ไทย | - |
dc.title | กฎหมายเกี่ยวกับการใช้กำลังควบคุมการชุมนุมสาธารณะ : ศึกษาร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.... | en |
dc.title.alternative | Law concerning the control and enforcement of public assembly : study on the draft assembly act A.E. .... | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | vboonyobhas@hotmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.1132 | - |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
preemanat _mu.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.