Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรุฬห์ ลีลาพฤทธิ์-
dc.contributor.authorแมน ต้นสมบูรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-03-22T04:32:31Z-
dc.date.available2013-03-22T04:32:31Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745671614-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30169-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างภาพการ์ตูนที่มีและไม่มีรายละเอียดพื้นหลัง กับแบบการคิด ที่มีต่อการจำและความคงทนในการจำ ในการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2529 ของโรงเรียนวัดนายโรง กรุงเทพมหานคร จำนวน 120 คน ซึ่งได้มาโดยให้ตัวอย่างประชากรทำแบบทดสอบ เดอะ กรุ๊ป เอมเบดเดด เทสท์ (The Group Embedded Figures Test) เพื่อแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 ประเภท ตามแบบการคิดคือ ฟิลด์ ดีเพนเดนซ์ (Field Dependence) และ ฟิลด์ อินดีเพนเดนซ์ (Field Independence) ทำการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายให้เหลือประเภทละ 60 คน แล้วสุ่มตัวอย่างแบบง่ายอีกครั้งหนึ่ง เพื่อแบ่งนักเรียนแต่ละประเภทออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน รวมนักเรียนกลุ่มที่ 1 ของทั้งสองประเภท เข้าด้วยกัน และรวมนักเรียนกลุ่มที่ 2 ของทั้งสองประเภทเข้าด้วยกันด้วย แต่ละกลุ่มทดลองประกอบด้วยนักเรียนที่มีแบบการคิดฟิลด์ ดีเพนเดนซ์ 30 คน และฟิลด์ อินดีเพนเดนซ์ 30 คน จากนั้นสุ่มกลุ่มทดลองเพื่อเข้ารับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นสไลด์ภาพการ์ตูน 2 ชุด คือภาพการ์ตูนที่ไม่มีรายละเอียดพื้นหลัง และภาพการ์ตูนที่มีรายละเอียดพื้นหลัง ประกอบกับสไลด์คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ภาพแต่ละชุดมี 25 ภาพ กลุ่มทดลองกลุ่มที่ 1 เข้ารับการทดลองดูสไลด์ภาพการ์ตูนที่ไม่มีรายละเอียดพื้นหลังประกอบกับสไลด์คำศัพท์ภาษาอังกฤษ กลุ่มทดลองที่ 2 ดูสไลด์ภาพการ์ตูนที่มีรายละเอียดพื้นหลังประกอบกับสไลด์คำศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้บทสอนเหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม และมีการทดสอบความจำหลังเรียนทันที และหลังเรียน 2 สัปดาห์ แล้วนำคะแนนทั้งหมดมาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. นักเรียนที่มีแบบการคิดต่างกัน เมื่อเรียนด้วยภาพการ์ตูนที่มีรายละเอียดพื้นหลังและภาพการ์ตูนที่ไม่มีรายละเอียดพื้นหลัง มีความจำและความคงทนในการจำในการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่มีแบบการคิดต่างกัน มีความจำและความคงทนในการจำในการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนที่เรียนด้วยภาพการ์ตูนที่มีรายละเอียดพื้นหลัง และภาพการ์ตูนที่ไม่มีรายละเอียดพื้นหลัง มีความจำและความคงทนในการจำในการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.format.extent904703 bytes-
dc.format.extent775123 bytes-
dc.format.extent1836670 bytes-
dc.format.extent565176 bytes-
dc.format.extent888789 bytes-
dc.format.extent814791 bytes-
dc.format.extent1194190 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleปฏิสัมพันธ์ระหว่างการ์ตูนที่มีและไม่มีรายละเอียดพื้นหลังกับ แบบการคิดที่มีต่อการจำ และความคงทนในการจำ ในการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1en
dc.title.alternativeAn interaction of cartoon with and without background and cognitive styles on English vocabulary recognition and retention of mathayom suksa one studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Man_to_front.pdf883.5 kBAdobe PDFView/Open
Man_to_ch1.pdf756.96 kBAdobe PDFView/Open
Man_to_ch2.pdf1.79 MBAdobe PDFView/Open
Man_to_ch3.pdf551.93 kBAdobe PDFView/Open
Man_to_ch4.pdf867.96 kBAdobe PDFView/Open
Man_to_ch5.pdf795.69 kBAdobe PDFView/Open
Man_to_back.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.