Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30262
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรชัย พิศาลบุตร-
dc.contributor.authorบังอร กุมพล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-03-24T01:26:51Z-
dc.date.available2013-03-24T01:26:51Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746351621-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30262-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ของสมการถดถอยเชิงเส้นพหุ เมื่อค่าสังเกตของตัวแปรตามบางค่าเป็นค่าที่ถูกตัดทิ้งทางขวาและเป็นการตัดทิ้งประเภทที่ 1 ซึ่งวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือวิธีการของสมิธ (Smith method) วิธีการประมาณด้วยภาวะน่าจะเป็นสูงสุด (Maximum likelihood estimation method) และวิธีการโมดิไฟด์แอคชัวเรียล (Modified actuarial method) ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้จากการจำลองด้วยเทคนิคมอนติคาร์โลกระทำซ้ำ 800 ครั้ง ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาเมื่อข้อมูลที่ถูกตัดทิ้งมีการแจกแจงปกติ ขนาดตัวอย่างเป็น 10 20 30 50 และ 100 สัดส่วนของข้อมูลที่ถูกตัดทิ้งเป็น 0.1 0.2 0.3 0.4 และ 0.5 ในการเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ของแต่ละวิธีการนั้นจะพิจารณาหาค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยของความคลาดเคลื่อนกำลังสอง (RMSE) ของการประมาณค่าตัวแปรตามเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจซึ่งผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ วิธีการของสมิธจะให้ค่า RMSE ต่ำกว่าวิธีการอื่นๆ เมื่อสัดส่วนของข้อมูลที่ถูกตัดทิ้งเป็น 0.1 0.2 0.3 ณ ทุกระดับของขนาดตัวอย่างและจำนวนตัวแปรที่ศึกษา ยกเว้นกรณีที่ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 10 จำนวนตัวแปรอิสระเท่ากับ 5 สัดส่วนของข้อมูลที่ถูกตัดทิ้งเป็น 0.1 วิธีการโมดิไฟด์แอคชัวเรียลจะให้ค่า RMSE ต่ำกว่าวิธีการอื่น และเมื่อจำนวนตัวแปรอิสระเท่ากับ 7 สัดส่วนของข้อมูลที่ถูกตัดทิ้งเป็น 0.2 และ 0.3 วิธีการประมาณด้วยภาวะน่าจะเป็นสูงสุดจะให้ค่า RMSE ต่ำกว่าวิธีการอื่นเมื่อสัดส่วนของข้อมูลที่ถูกตัดทิ้งเป็น 0.4 และ 0.5 ทุกระดับของขนาดตัวอย่างและจำนวนตัวแปรที่ศึกษาพบว่าวิธีการประมาณด้วยภาวะน่าจะเป็นสูงสุดจะให้ค่า RMSE ต่ำกว่าวิธีการอื่นๆ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่า RMSE คือ ขนาดตัวอย่างและส่วนสัดส่วนของข้อมูลที่ถูกตัดทิ้งนั่นคือค่า RMSE จะแปรผกผันกับขนาดตัวอย่าง และจะแปรผันโดยตรงกับสัดส่วนของข้อมูลที่ถูกตัดทิ้ง-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to compare methods of parameters estimation in multiple linear regression when some observations of dependent variable are type I right censored. The methods of parameters estimation under consideration in this study are Smith Method, Maximum Likelihood Estimation Method and Modified Acturial Method. Data used in this study are generated through The Monte Carlo simulation technique with 800 repetitions. Sample data are normal distribution of size 10, 20, 30, 50 and 100 with censoring proportion 0.1, 0.2, 0.3, 0.4 and 0.5 respectively. Comparing methods of parameters estimation, the square root of mean square error of estimating the response variable (RMSE) has been used. The results of this research can be concluded as follows: The RMSE of Smith Method is lowest when censoring proportion are 0.1, 0.2 and 0.3 under all sample size and independent variable except sample size are 10 independent variable is 5 and censoring proportion is 0.1 the RMSE of Modified Acturial Method is lowest; independent variable is 7 and censoring proportion are 0.2 and 0.3 the RMSE of Maximum Likelihood Estimation method is lowest. When censoring proportion are 0.4 and 0.5 the RMSE of Maximum Likelihood Estimation method is lowest under all sample sizes and independent variables. The factor that vary inversely with RMSE is sample size, on the other hand, censoring proportions vary directly with RMSE.-
dc.format.extent4768625 bytes-
dc.format.extent2528598 bytes-
dc.format.extent6843335 bytes-
dc.format.extent2339258 bytes-
dc.format.extent7516996 bytes-
dc.format.extent1916338 bytes-
dc.format.extent27435625 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุ เมื่อตัวแปรตามมีค่าถูกตัดทิ้งทางขวากรณีค่าตัดทิ้งประเภทที่ 1en
dc.title.alternativeMultiple linear regression analysis with right censored response variable : type I censoringen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bung-on_ku_front.pdf4.66 MBAdobe PDFView/Open
Bung-on_ku_ch1.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open
Bung-on_ku_ch2.pdf6.68 MBAdobe PDFView/Open
Bung-on_ku_ch3.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open
Bung-on_ku_ch4.pdf7.34 MBAdobe PDFView/Open
Bung-on_ku_ch5.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open
Bung-on_ku_back.pdf26.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.