Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30354
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปาริชาต สถาปิตานนท์ | - |
dc.contributor.author | บุญฤทธิ์ กิตติถิระพงษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-26T01:02:36Z | - |
dc.date.available | 2013-03-26T01:02:36Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30354 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วมนี้ เป็นการประยุกต์ใช้แนวทางการตลาดเพื่อสังคม และพัฒนากระบวนการสื่อสารที่เหมาะสม เพื่อขับเคลื่อนความเข้มแข็งเชิงสุขภาพให้กับชุมชน โดยกำหนดให้ หอพักจุฬานิวาสเป็นพื้นที่ในการวิจัยผู้พักอาศัยในหอพักเป็นกลุ่มเป้าหมาย ได้บูรณาการแนวทางการตลาดเพื่อสังคมและการขับเคลื่อนสังคม สร้างความเข้มแข็งเชิงสุขภาพให้ชุมชน มีขั้นตอน 8 ขั้นตอน คือ 1. การวิเคราะห์ชุมชน 2.การจัดตั้งองค์กรชุมชน 3.การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไขอย่างมีส่วนร่วม 4.การวางแผนและออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับคนในชุมชน 5. การนำไปปฏิบัติ 6.การปรับปรุงกายภาพ 7.การประเมินผล 8. การสร้างความเข้มแข็งความยั่งยืน ใช้ระยะเวลาประมาณ 1 ปี ดำเนินโครงการ โดยใช้กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง (Stage of Change) 5 ขั้นตอน ด้วยการนำแผนงานแต่ละประเภทกิจกรรมมาปฏิบัติตามลำดับ โดยแบ่งเป็น 4 แผนงานสร้างเสริมสุขภาพ ( Programs) ด้วยหลักการ 6 อ. คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม อโรคยา และ อบายมุข และ 2 แผนงานเผยแพร่ ( Disseminate ) และสร้างความคงทน ( consolidation ) พร้อมทั้งสร้างความยั่งยืนด้วย การเตือน (Prompt) การสร้างบรรทัดฐานให้ชุมชน ( Norms ) การให้คำมั่นสัญญา ( Commitment ) การใช้ข้อความที่มีประสิทธิภาพ( Creating Effective Message ) การใช้สิ่งจูงใจ ( Incentives ) การใช้การสื่อสารเชิงพิธีกรรม ( Ritual Communication ) ทำการวัดผลสามระยะ เริ่มต้น ระหว่างดำเนินการ และสิ้นสุดโครงการ พบว่า ชุมชนมีความเข้มแข็งขึ้น สุขภาพดีขึ้นทั้ง 4 มิติ กาย จิต ปัญญา สังคม และ สรุปว่า การประยุกต์ใช้การตลาดเพื่อสังคมในการสร้างความเข้มแข็งเชิงสุขภาพให้ชุมชน สามารถกระทำได้ กระบวนการสื่อสารที่เหมาะสม คือ การใช้การสื่อสารตามทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง (Stage of Change) | en |
dc.description.abstractalternative | The research was integrated Social Mobilization approach and Social Marketing approach by implementing this study in 8 steps, which are 1. Analyzing Community 2. Setting Community Organization 3. Analyzing Problem and Finding Solving Methods 4. Planning and Designing activities that conform to community conditions 5.Implementation 6. Physical Development 7. Evaluation 8. Dissemination and Reassessment. “ Stage of change Model” was used to design activities towards 6 health promotion programs. In one year, could mobilize community through 6 programs 32 activities in 4 dimensions of health and 4 dimensions of community strength. The research can apply social marketing approach to form new behavior and norm to this community in various ways. Evaluation by using quantitative and qualitative methodology for 3 times. First when we start project, Second in the middle of the project and last when finished the project. The result shows that the strength of this community has been increased in all 4 dimensions. However, the strength is the highest when the project is completed and the second highest is during the middle of the project. Most people want the project to be continuously basis. The mobilization toward the strength and healthy community in this context could be successfully implemented by participation and social marketing communication. Not only 4P’s but also Power, Partnership and communication tools to sustain behavior of this community is norms , prompt , commitment ,incentives are the main criterion that leads mobilization of this community to be accomplished. Finally, regulations and message Design ,tools of Community based social marketing. | en |
dc.format.extent | 15644882 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1069 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การตลาดเพื่อสังคม | en |
dc.subject | ขบวนการสังคม | en |
dc.subject | ชุมชน -- แง่อนามัย | en |
dc.title | การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการตลาดเพื่อสังคมในการขับเคลื่อนความเข้มแข็งเชิงสุขภาพของชุมชน | en |
dc.title.alternative | The application of social maketing theory for mobilization towards a healthy community | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | นิเทศศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Parichart.S@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.1069 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
boonyarit_ki.pdf | 15.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.