Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30355
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัฏฐมา นิลนพคุณ-
dc.contributor.authorบุณฑริก ผลบุญเจริญชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialปราจีนบุรี-
dc.date.accessioned2013-03-26T01:26:31Z-
dc.date.available2013-03-26T01:26:31Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30355-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดปราจีนบุรี โดยมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดปราจีนบุรีให้เกิดความยั่งยืนต่อไป ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างประชาชนในท้องถิ่น และนักท่องเที่ยวของจังหวัดปราจีนบุรี โดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 400 ชุด แบ่งเป็นแบบสอบถามสำหรับประชาชนในท้องถิ่น 200 ชุด และแบบสอบถามสำหรับนักท่องเที่ยว 200 ชุด โดยทำการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ รวมทั้งมีการสัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 4 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง เพื่อหาข้อสรุปออกมาเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดปราจีนบุรี ที่ได้จากการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลทั้ง 3 กลุ่ม คือ การพัฒนาการท่องเที่ยวต้องให้คนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมและมีบทบาทในการพัฒนามากที่สุด มีการปลูกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นเกิดความรู้สึกรักและหวงแหน พร้อมที่จะดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยวให้ยั่งยืน ส่วนด้านแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและทางประวัติศาสตร์ให้คงความเป็นเอกลักษณ์เดิมให้มากที่สุด ไม่ควรปลูกสร้างสิ่งที่ไม่สำคัญเข้าไปในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ และควรมีการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการท่องเที่ยวในด้านการประชาสัมพันธ์ และการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการกระตุ้นการท่องเที่ยวของจังหวัดให้ดียิ่งขึ้นต่อไปen
dc.description.abstractalternativeIn this research, we collected data from representative sample of local residents, tourist of Prachinburi province by using 400 questionnaire papers which were divided into 2 parts. There were 200 questionnaires for local residents and 200 questionnaires by using Accidental Random Sampling for tourist. Percentage statistic was used in order to analyze data. Four persons pertaining to the related organizations were interviewed by using Purpose Sampling to find out the conclusion of the guidelines for potential of ecological tourism development. The results of the study showed that the guidelines for potential development of eco-tourism in Prachinburi province, which were collected and analyzed from three information providers were that local residents had to participate as much as they could in activity for developing tourism in their hometown and encouraging local residents to have a conscious in natural conserving. For landscape and history aspect, everything should be kept in the same identity as the past, building should be prohibited, and also supporting from the related organizations in developing tourism in term of public relation and continuing activities to enhance tourism in Prachinburi province.en
dc.format.extent2555768 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2027-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมท่องเที่ยวen
dc.subjectอุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- การจัดการen
dc.subjectอุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- ปราจีนบุรีen
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงนิเวศen
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- ปราจีนบุรีen
dc.titleแนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดปราจีนบุรีen
dc.title.alternativeGuidelines for potential development of ecotourism in Prachinburi Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การกีฬาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2027-
Appears in Collections:Spt - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
boondarik_po.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.