Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนกพร จิตปัญญา-
dc.contributor.advisorจรรยา ฉิมหลวง-
dc.contributor.authorนิตญา ฤทธิ์เพชร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-03-27T03:07:22Z-
dc.date.available2013-03-27T03:07:22Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30391-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มอาการ การจัดการตนเอง ค่านิยมด้านสุขภาพ ความเข้มแข็งในการมองโลก กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้ แนวคิดคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของ Wilson & Cleary (1995) เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่ได้รับการขยายหลอดเลือดที่เข้ารับการตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกคลินิกโรคหัวใจและหลอดเลือดของโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า โรงพยาบาลตำรวจ และคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล จำนวน 126 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินกลุ่มอาการ แบบประเมินการจัดการตนเอง แบบประเมินค่านิยมด้านสุขภาพ แบบประเมินความเข้มแข็งในการมองโลก และแบบประเมินคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือด ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หาค่าความเที่ยงจากแบบประเมินได้เท่ากับ .89, .81, .72, .83 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย 1.คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือด หัวใจในเขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับดี (X̅ = 562.87, SD = 152.27 ) 2.กลุ่มอาการ การจัดการตนเอง มีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= -.65, -.31) ตามลำดับ 3. ความค่านิยมด้านสุขภาพ และความเข้มแข็งในการมองโลกมีความสัมพันธ์ทางบวก กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= .25, และ .47)en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to investigate the relationships among symptom clusters, self- management, health value, sense of coherence, and health related quality of life in patients coronary artery disease patients with percutaneous coronary intervention. The theorical framework was based on Health-Related Quality of Life Conceptual Model of Wilson & Cleary (1995). One hundred and twenty – six coronary artery disease patients with percutaneous coronary intervention were recruited by using a multi-stage sampling technique from Out- Patients Departments of Somdejprapinklao Hospital, Police General Hospital, and Faculty of Medicine Vajira Hospital. The instruments used for data collection were the demographic data form, symptom cluster questionnaire, self-management questionnaire, health value questionnaire, sence of choherence questionnaire, and SF-36. These instruments were tested for their content validity by a panel of experts. Internal consistency reliability for each questionnaire tested by Cronbach, s alpha were .89, .81, .72, .83, and .93 respectively. Data were analyzed using mean, standard deviation, and Pearson, s product-moment correlation. Major findings were as follows: 1.Patients with percutaneous coronary intervention had good level of health related quality of life (X̅ = 562.87, SD = 152.27). 2. Symptom cluster, and self- management were negatively significant correlated to health related quality of life (r= -.65,-.31, p<.01). 3. Health value, and sense of coherence were positively significant correlated to health related quality of life (r=.25, and .47, p<.01).en
dc.format.extent3361420 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1082-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคุณภาพชีวิตen
dc.subjectหลอดเลือดโคโรนารีย์ผิดปกติen
dc.subjectหลอดเลือดโคโรนารีย์ผิดปกติ -- ผู้ป่วยen
dc.subjectหลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรคen
dc.subjectหลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค -- ผู้ป่วยen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มอาการ การจัดการตนเอง ค่านิยมด้านสุขภาพ ความเข้มแข็งในการมองโลก และคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจen
dc.title.alternativeRelationships between symptom clusters, self-management, health value, sense of coherence and health-related quality of life in patients with percutaneous coronary interventionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorhchanokp@pioneer.netserv.chula.ac.th-
dc.email.advisorJanya.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1082-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nittaya_ri.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.