Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30500
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบัณฑิต เอื้ออาภรณ์-
dc.contributor.authorรฐนนท์ เดี่ยววิไล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-04-09T08:15:44Z-
dc.date.available2013-04-09T08:15:44Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30500-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้าสามารถลดความต้องการใช้ไฟฟ้า ทำให้กำลังผลิตไฟฟ้าและค่าใช้จ่ายในการผลิตไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าในอนาคตมีค่าลดลงจากเดิม โดยปกติการดำเนินมาตรการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า เช่น การเปลี่ยนไปใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง มักมีค่าใช้จ่ายซึ่งหากเปรียบเทียบกับคุณค่าของการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้าแล้วจะช่วยให้สามารถตัดสินใจว่าสมควรดำเนินการมาตรการเหล่านี้หรือไม่ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงได้นำเสนอกระบวนการประเมินคุณค่าของการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้าภายใต้กรอบการวางแผนกำลังผลิตไฟฟ้าในระยะยาว โดยคุณค่าที่ได้จากกระบวนการนี้จะช่วยให้ผู้วางแผนระบบไฟฟ้าสามารถคัดเลือกโครงการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้าเพื่อดำเนินการได้อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น กระบวนการที่นำเสนอจะถูกทดสอบกับตัวอย่างมาตรการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า 3 ประเภท ได้แก่ การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมแรงดันไฟฟ้า การใช้หลอด T5 แทนหลอด T8 และการคิดค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาที่ใช้งาน โดยคำนึงถึงเกณฑ์ความเชื่อถือได้ตามที่กำหนด ทำการคำนวณดัชนีต่างๆ ของระบบไฟฟ้า แล้วประเมินค่าใช้จ่ายในการผลิตไฟฟ้าเทียบกับกรณีฐานเพื่อหาผลประหยัดและคุณค่าของการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า คุณค่าที่ได้จากกระบวนการที่นำเสนอสามารถระบุได้ว่าการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้านี้คุ้มค่าที่จะดำเนินการหรือไม่ และสามารถใช้เปรียบเทียบเพื่อหาระดับการดำเนินการที่คุ้มค่าที่สุดสำหรับมาตรการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้านั้นๆen
dc.description.abstractalternativeDemand side management help reduce demand of the system, resulting in less required generating capacity and production cost of the future system. Generally, each demand side management activity, e.g., replacing old with new higher efficiency equipment, has its own cost. Therefore, comparing cost and worth of demand side management could be used to decide whether the activity is feasible or not. This thesis proposes the methodology in evaluating the demand side management worth under the framework of long-term generation system planning. With the obtained results, the system planners will be able to select demand side management program more appropriately. The proposed method is tested with 3 demand side management programs, i.e., voltage regulator installation, Replacing T8 with T5 fluorescent tube, and time of use pricing, with consideration of predefined reliability criteria. The total production cost of the system is calculated along with other indices. Acquired indices are compared with base case indices to evaluate saving and worth of the demand side management programs. The obtained worths indicated programs’ feasibility which can be compared to determine the most suitable program.en
dc.format.extent4434859 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1198-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไฟฟ้า -- การจัดการen
dc.subjectไฟฟ้า -- การผลิต -- ค่าใช้จ่ายen
dc.subjectนโยบายพลังงานen
dc.titleการประเมินคุณค่าของการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า ภายใต้กรอบการวางแผนกำลังการผลิตไฟฟ้าen
dc.title.alternativeDemand side management worth evaluation under generation system planning frameworken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBundhit.E@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1198-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
radhanon_di.pdf4.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.