Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30527
Title: การกำหนดกำลังการผลิตและความต้องการ เพื่อการจัดตั้งโรงงานสไตรีนโมโนเมอร์
Other Titles: Capacity determination of production and demand for setting up the styrene monomer plant
Authors: บัญชา คูหากาญจน์
Advisors: วันชัย ริจิรวนิช
สุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2539
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดกำลังการผลิตที่เหมาะสมในการจัดตั้งโรงงานสไตรีนโมโนเมอร์ โดยมีขอบเขตของการวิจัยคือ การศึกษาด้านวัตถุดิบ ด้านวิศวกรรม ด้านการลงทุน ด้านการเงิน และผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ในการวิจัยนี้จะทำการเปรียบเทียบกำลังการผลิต 3 ขนาด คือ กำลังการผลิตขนาด 120,000 160,000 และ 200,000 ตัน/ปี จากการวิจัยด้านต่างๆ พบว่า กำลังการผลิตที่เหมาะสมที่สุดคือกำลังการผลิต 200,000 ตัน/ปี ทั้งนี้เนื่องจากมีความเหมาะสมทางด้านการตลาดมีต้นทุนการผลิตต่อหน่วยต่ำที่สุด สามารถทำกำไรให้กับโครงการได้มาก ให้อัตราผลตอบแทนสูง ระยะเวลาในการคืนทุนนั้น ทำให้โครงการมีสภาพคล่องสูง มีความปลอดภัยต่อความไวของการเปลี่ยนแปลงมากกว่าโครงการขนาดอื่นๆ ก่อให้เกิดการจ้างงานมากกว่าและลดภาวการณ์ขาดดุลของประเทศได้มาก ซึ่งโครงการนี้ให้ผลตอบแทนดังนี้ อัตราผลตอบแทนภายในทั้งสิ้น 31% มูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการ 2,292,890,167 บาท อัตราส่วนผลได้และต้นทุน 1.91 ระยะเวลาคืนทุน 5.72 ปี
Other Abstract: The purpose of this thesis is to determine the production capacity and demand for setting-up the styrene monomer plant. It's scope covers the study of raw material, marketing, investment. Moreover, the economic and environmental effect are also included. This research has compared three size of capacities including 120,000, 160,000 and 200,000 tons/year. The results of the study indicated that the production capacity at 200,000 tons/year is the most appropriate size due to the following criteria : (1) minimum unit cost, (2) maximum profits, (3) maximum Internal rate of return, (4) maximum net present value, (5) short payback period Moreover it will increase job opportunity and decrease trade deficit. At this capacity, the economic index are as the following. Internal Rate of Return 31% Net Present Value 2,292,890,167 Baht Benefit-Cost Ratio 1.91 Payback Period 5.72 years.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30527
ISBN: 9746351664
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bancha_ku_front.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open
Bancha_ku_ch1.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Bancha_ku_ch2.pdf5.87 MBAdobe PDFView/Open
Bancha_ku_ch3.pdf4.43 MBAdobe PDFView/Open
Bancha_ku_ch4.pdf14.29 MBAdobe PDFView/Open
Bancha_ku_ch5.pdf12.87 MBAdobe PDFView/Open
Bancha_ku_ch6.pdf12.77 MBAdobe PDFView/Open
Bancha_ku_ch7.pdf4.44 MBAdobe PDFView/Open
Bancha_ku_ch8.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open
Bancha_ku_back.pdf20.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.