Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30557
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ครรชิต ผิวนวล | - |
dc.contributor.author | ธวัชชัย เหล่าศิริหงษ์ทอง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-04-19T03:18:25Z | - |
dc.date.available | 2013-04-19T03:18:25Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.isbn | 9745787159 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30557 | - |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่ใช้อธิบายถึงความต้องการเดินทางของประชากร แยกตามรูปแบบของการเดินทาง โดยเน้นถึงการประยุกต์ใช้พฤติกรรมการตัดสินใจของคน ซึ่งเป็นวิธีที่มีสมมติฐานว่า "ผู้เดินทางจะตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ให้ประโยชน์สูงสุด" ทั้งนี้เพื่อที่จะสามารถดึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม ให้สามารถอธิบายจำนวนการเดินทางและรูปแบบของการเดินทาง เพื่อประโยชน์ในการวางแผนระบบคมนาคมขนส่งให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมต่อไป ในการศึกษานี้ ได้พัฒนาแบบจำลองที่ใช้อธิบายถึงการตัดสินใจใน 2 เรื่อง คือ จำนวนครั้งของการเดินทางต่อวัน และรูปแบบการเดินทาง โดยใช้สมมติฐานว่าการตัดสินใจในเรื่องทั้งสองจะต้องตัดสินใจพร้อมกันในทีเดียว ผลจากการศึกษาพบว่า แบบจำลองที่พัฒนาขึ้นไม่สามารถทำนายถึงการไม่เดินทางของประชากรได้ เนื่องจากโครงสร้างของการตัดสินใจแตกต่างกับการเดินทางโดยสิ้นเชิง แต่สามารถอธิบายจำนวนการเดินทางโดยเฉลี่ย ด้วยวิธีอัตราการเดินทาง และการเลือกใช้รูปแบบของการเดินทางได้ นอกจากนั้นแล้ว จากการศึกษายังพบอีกว่าในการใช้งานแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นเพื่อพยากรณ์ความต้องการเดินทางรวม โดยใช้ค่าความน่าจะเป็นของการเลือกใช้รูปแบบการเดินทางต่างๆ ของทุกคู่ จุดเริ่มต้นและจุดปลายทางของการเดินทางใดๆ ของแต่ละพื้นที่ย่อยมาเฉลี่ยกัน เพื่อนำไปคูณกับจำนวนการเดินทางให้ได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนการเดินทางที่จุดปลายในแต่ละพื้นที่ย่อยจะทำให้ผลการพยากรณ์คลาดเคลื่อนไปมาก ทั้งนี้เพราะสมการทางคณิตศาสตร์ของแบบจำลองเป็นฟังก์ชั่นของตัวแปรในรูปแบบเอ็กซ์โปแนนเชียล จึงทำให้แบบจำลองมีความอ่อนไหวต่อค่าของตัวแปรมาก ซึ่งจากเหตุผลนี้เองจึงทำให้แบบจำลองที่พัฒนาโดยวิธีนี้ แม้จะมีข้อดีที่สามารถใช้ทดสอบนโยบายซึ่งแบบจำลองเดิมๆ ทำไม่ได้ แต่ก็มีข้อพิจารณาที่สำคัญ คือ ความยุ่งยากในการนำไปใช้งาน ซึ่งควรจะทำการวิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการและแนวทางในการนำแบบจำลองดังกล่าวไปใช้งานต่อไป | - |
dc.description.abstractalternative | This research is a study to develop a mathematical model by employing individual choice theory to explain population travel demand and model choice in Greater Bangkok Metropolitan Area (GBA). The concept of the theory is "Trip maker always tries to make trip and select mode in order to maximize his/her own benefit". The main objective of the study is to try to employ different methodology which reflect decision behavior to predict number of trip/s classified by mode of travel in order to use in future planning of transportation system. The model consists of 2 decision terms : frequency of trip per day and mode of travel, and then employed the concept of simultaneous decision-making structure to explain the choice behavior of trip maker. Results of the study showed that the models could not predict number of population who do not make trip. The main reason was that their decision-making structures differ from those who make trip. Nevertheless, the models still can be used to predict total number of trips by trip rate technique and mode choice of trip in GRA. In addition, the analysed results showed that aggregate prediction which was calculated from the model by using average mode choice probability of all O-D pairs for each traffic zone differed significantly from the observed trips. The main reason is the model was in an exponential form. Therefore, small increment of value of variable/s in the model would result in a significant amount of difference. This is the main criterion of using the logit model and is recommended that future research should be the development of technique for using the model in order to get adequate accurate results. | - |
dc.format.extent | 6575035 bytes | - |
dc.format.extent | 3157524 bytes | - |
dc.format.extent | 15689529 bytes | - |
dc.format.extent | 22458213 bytes | - |
dc.format.extent | 32011982 bytes | - |
dc.format.extent | 18328050 bytes | - |
dc.format.extent | 1780912 bytes | - |
dc.format.extent | 21947909 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การพยากรณ์ความต้องการเดินทางโดยวิธี "ดิสแอ็กกรีเกต" สำหรับพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล | en |
dc.title.alternative | Disaggregate travel demand forecasting for greater Bangkok metrololitan area | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tawatchai_la_front.pdf | 6.42 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tawatchai_la_ch1.pdf | 3.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tawatchai_la_ch2.pdf | 15.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tawatchai_la_ch3.pdf | 21.93 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tawatchai_la_ch4.pdf | 31.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tawatchai_la_ch5.pdf | 17.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tawatchai_la_ch6.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tawatchai_la_back.pdf | 21.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.