Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorอภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-04-19T04:49:54Z-
dc.date.available2013-04-19T04:49:54Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30566-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการใช้กระบวนการสรรค์สร้างความรู้ในการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ล้านนาโดยบูรณาการแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยผู้วิจัยได้พัฒนาแผนการเรียนรู้รายหน่วยประวัติศาสตร์ล้านนาโดยบูรณาการแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยใช้กระบวนการสรรค์สร้างความรู้ จำนวน 6 หน่วยการเรียนรู้ ซึ่งประกอบไปด้วยแผนจัดการเรียนรู้ย่อย 41 คาบ จากนั้นผู้วิจัยเลือกนำแผนการจัดการเรียนรู้ย่อยหน่วยที่ 1 ประวัติศาสตร์ล้านนาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จำนวน 10 แผนไปทดลองสอนเพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ผลการวิจัยได้ข้อสรุป คือ ได้แนวทางในการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ล้านนาโดยบูรณาการแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยใช้กระบวนการสรรค์สร้างความรู้ ซึ่งประกอบไปด้วย แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย จำนวน 6 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ หน่วยที่ 1 การศึกษาประวัติศาสตร์ล้านนาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หน่วยที่ 2 ล้านนาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ หน่วยที่ 3 ล้านนาสมัยจารีต: ยุคแห่งการสรรค์สร้างอัตลักษณ์ล้านนา หน่วยที่ 4 ล้านนาสมัยใหม่: การเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับสังคมโลก หน่วยที่ 5 ภูมิปัญญาล้านนา: สายสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ และหน่วยที่ 6 พลเมืองท้องถิ่นล้านนาในสังคมโลกที่ยั่งยืน ซึ่งทั้ง 6 หน่วยการเรียนรู้ดังกล่าวผู้วิจัยได้นำเสนอออกมาเป็นเอกสารคู่มือครู ประกอบไปด้วย 1) หลักการสำคัญ 2) วัตถุประสงค์ 3) องค์ประกอบของเนื้อหา 4) แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย 5) แนวทางการจัดกิจกรรมเสริม และ 6) การเตรียมตัวสำหรับครูและข้อเสนอแนะอื่นๆen
dc.description.abstractalternativeThe research aimed to propose guidelines for using constructivism process in organizing Lanna history instruction integrating sustainable development concepts for upper secondary school students. The researcher developed Lanna history lesson plans by integrating sustainable development concepts using constructivsm process totally 6 unit plans with 41 daily lesson plans. The first unit plan with 10 daily lesson plans was verified. The results of the study were six integrated teaching units which were 1) Lanna History 2) Lanna during Pre-historic Period 3) Lanna during the Historic Period 4) Modern Lanna History 5) Lanna Wisdoms: The Relations of People and Nature 6) Local Lanna Citizens in Global Sustainable Society. All the 6 units were presented as the teacher’s manual which consisted of 1) Rationale 2) Objectives 3) Content Components 4) Unit Lesson Plans 5) Guidelines for Extra Activities 6) Preparation and Suggestions for Teachers.en
dc.format.extent11887264 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1215-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectประวัติศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectทฤษฎีสรรคนิยมen
dc.subjectการพัฒนาแบบยั่งยืนen
dc.titleการนำเสนอแนวทางการใช้กระบวนการสรรค์สร้างความรู้ในการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ล้านนาโดยบูรณาการแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนen
dc.title.alternativeProposed guidelines for using constructivism process in organizing Lanna history instruction intergrating sustainable development conceptsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสอนสังคมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1215-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
apaichon_su.pdf11.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.