Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30671
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทนา จันทโร-
dc.contributor.authorกนิษฐา นาคประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-04-27T08:17:46Z-
dc.date.available2013-04-27T08:17:46Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30671-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาต้นทุนทั้งหมดในการลงทุนของการตั้งโรงงานผลิต เม็ดพลาสติกรีไซเคิลจากขวด PET เพื่อรองรับปริมาณขยะขวด PET ที่เกิดขึ้น ในประเทศไทย เฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเทศบาลทั่วประเทศและเมืองพัทยาจากการประมาณการ ในช่วง ปี ค.ศ. 2010-2524 ศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนหน่วยสุดท้ายระยะยาว (Long-run Marginal Cost) ด้วยวิธีต้นทุนส่วนเพิ่มเฉลี่ย (Average Incremental Cost: AIC) โดยใช้ ราคาคงที่ ณ ปี ฐาน ค.ศ. 2009 ที่ปริมาณการผลิตต่างๆ และวิเคราะห์ปริมาณผลิตที่ทำให้ AIC ต่ำที่สุดถือเป็นราคาที่เหมาะสมสำหรับผู้ประกอบการและผู้ผลิตเส้นใยโพลิเอสเทอร์ รวมถึงเปรียบเทียบ AIC กับราคาตลาดของเม็ดพลาสติกรีไซเคิล PET และเม็ดพลาสติก PET เพื่อประเมินความสามารถในการขายเม็ดพลาสติกรีไซเคิลให้กับผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณผลิตที่ทำให้ AIC ต่ำที่สุดและมีความเหมาะสมสำหรับ โครงการ คือ 8,000 ตัน/ปี มีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 21.80 บาท/กิโลกรัม และ มีค่า AIC 23.78 บาท/กิโลกรัม ซึ่งสามารถสร้างกำไร 1.98 บาท/กิโลกรัม และ AIC มีค่าต่ำกว่าราคา ตลาดของเม็ดพลาสติกรีไซเคิล PET (24-26 บาท/กิโลกรัม) และเม็ดพลาสติก PET (35-44 บาท/กิโลกรัม) ผู้ประกอบการจึงสามารถดึงดูดผู้ผลิตเส้นใยโพลิเอสเทอร์ในการผสม เม็ดพลาสติกรีไซเคิล PET ตามอัตราส่วนที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุนในการผลิตแทนการใช้เม็ด พลาสติก PET เพียงอย่างเดียว ดังนั้นการตั้งโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลจากขวด PET จึงถือเป็นแนวทางเพื่อลดปัญหาขยะขวด PET ที่มีประสิทธิภาพในการลงทุนen
dc.description.abstractalternativeThis research studies the cost of the recycling plant for PET bottle waste which is estimated for Thailand (Bangkok, municipality and Pattaya) from 2010 to 2024. Long-run marginal cost analysis through an average incremental cost (AIC) at constant price (2009) in different quantity and minimum AIC analysis were conducted, which yielded optimum price for recycled PET and polyester’s manufacturers. This research also compares AIC with the market price of recycled PET and virgin PET resin in order to evaluate an ability to sell recycled PET for polyester’s manufacturers. The results show that the optimum quantity at minimum AIC is 8,000 ton/year, with the unit cost is 21.80 Baht/Kg. and the AIC is 23.78 Baht/Kg, which can make the profit 1.98 Baht/Kg. The AIC is lower than the market price of recycled PET (24-26 Baht/Kg.) and virgin PET resin (35-44 Baht/Kg.). The manufacturers can attract polyester’s manufacturers to use recycled PET as raw material in an appropriate ratio instead of using only virgin PET resin. To summarize, the recycling plant is considered as an efficient investment to help reducing PET bottle waste.en
dc.format.extent18437741 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.237-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectขวดพลาสติก -- การนำกลับมาใช้ใหม่en
dc.subjectอุตสาหกรรมเม็ดพลาสติกen
dc.titleการลดปริมาณขยะขวดพลาสติก PET โดยการตั้งโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลen
dc.title.alternativeThe reduction of PET bottle waste through recycling planten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChantana.J@Chula.ac.th, fiejjr@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.237-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanitha_na.pdf18.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.