Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30686
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเศรษฐา ปานงาม-
dc.contributor.advisorพศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorภควัฒน์ ดับโศก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-04-27T11:15:28Z-
dc.date.available2013-04-27T11:15:28Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30686-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractในปัจจุบันเด็กที่บกพร่องทางการได้ยินบางกลุ่มเป็นเด็กหูตึงเมื่อสวมเครื่องช่วยฟังสามารถทำการเรียนการสอนได้ ดังนั้นเด็กที่บกพร่องทางการได้ยินสามารถทำการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาพูดได้ ซึ่งในห้องเรียนสามารถมีอุปกรณ์รับส่งสัญญาณไร้สายดิจิทัลที่ช่วยให้ประสิทธิภาพการได้ยินนั้นดีขึ้นและสามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องช่วยฟังเป็นอุปกรณ์เสริมได้ แต่เนื่องจากอุปกรณ์รับส่งสัญญาณไร้สายดิจิทัลต้องนำเข้าจากต่างประเทศทำให้อุปกรณ์นั้นมีราคาสูง งานวิจัยนี้จึงได้พัฒนาต้นแบบระบบสื่อสารไร้สายดิจิทัลในห้องเรียนสำหรับผู้ที่บกพร่องทางการได้ยินให้มีประสิทธิภาพเทียบเท่าและมีราคาต่ำกว่าอุปกรณ์ที่นำเข้าจากต่างประเทศ โดยจะออกแบบให้ระบบส่งข้อมูลแบบแพร่สัญญาณ ที่ความถี่คลื่นวิทยุ 2.4 GHz ซึ่งอุปกรณ์รับส่งสัญญาณไร้สายนั้นใช้การรับส่งสัญญาณเป็นแบบดิจิทัล มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงคุณภาพการรับส่งข้อมูลไร้สายได้ง่าย ผลการทดลองพบว่าสามารถพัฒนาต้นแบบระบบสื่อสารไร้สายดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพในการรับฟังที่ระยะห่างออกไปจากตำแหน่งต้นเสียงถึง 10 เมตร พบว่ามีประสิทธิภาพในการรับฟังนั้นไม่ต่างแตกกับการรับฟังที่ตำแหน่งต้นเสียง และได้ทำทดลองเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการรับฟังกับเครื่องรับสัญญาณไร้สายที่ใช้อยู่จริงในโรงเรียน พบว่าที่ระยะ 5 เมตร ประสิทธิภาพเครื่องรับสัญญาณไร้สายต้นแบบระบบสื่อสารไร้สายดิจิทัลกับประสิทธิภาพเครื่องรับสัญญาณไร้สายที่ใช้อยู่ในโรงเรียนนั้นไม่ได้มีประสิทธิภาพในการรับฟังที่แตกต่างกันและระบบที่พัฒนานี้ใช้กระแสไฟต่ำกว่าen
dc.description.abstractalternativeHearing impaired Students can use Hearing Aids, to study by oral method. RF transceiver device makes the hearing efficiency better, and it can be connected to the hearing aid. However, the imported transceiver device is expensive. The thesis is to develop a digital wireless system prototype for Hearing Impaired Person. It was desigened to meet the specifications of the commercial RF transceiver device. Moreover, it was designed to be cheaper than the imported model. The wireless transmission system is digitally encoded and broadcasted at 2.4 GHz, so that it can be easily transformed, and this also improved the quality of the wireless signaling. The tests result show that The Digital Wireless System prototype developed can work up 10 meter range, and the quality of sound is not different from the one at the source. Moreover, compared to the commercial RF transceiver device which is used in schools at 5 meter range developed prototype performance is not statistically different. The developed prototype also has lower power consumption.en
dc.format.extent1797706 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/ 10.14457/CU.the.2010.194-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความบกพร่องทางการได้ยินen
dc.subjectเครื่องช่วยการได้ยินen
dc.subjectต้นแบบทางวิศวกรรมen
dc.titleการพัฒนาต้นแบบระบบสื่อสารไร้สายดิจิทัลในห้องเรียนสำหรับผู้ที่บกพร่องทางการได้ยินen
dc.title.alternativeDevelopment of a digital wireless system prototype for hearing impaired personen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSetha.P@Chula.ac.th, setha@cp.eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.194-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pakawat_du.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.