Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30707
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวรรณ เรืองศิลป์-
dc.contributor.authorธิยารัช พูนพิพัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-04-28T04:22:02Z-
dc.date.available2013-04-28T04:22:02Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30707-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบริบททางการเมืองกับสถานภาพของชาวจีนในอินโดนีเซีย โดยเน้นศึกษาแนวคิดและกิจกรรมขององค์กรและนักเคลื่อนไหวทางการเมืองชาวจีนในอินโดนีเซียในช่วง ค.ศ. 1942-1966 ผลการวิจัยแสดงว่าการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของอินโดนีเซีย นับตั้งแต่การเข้ามายึดครองของญี่ปุ่น การสิ้นสุดอำนาจการปกครองของเจ้าอาณานิคมเนเธอร์แลนด์ และการก่อตั้งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย มาจนถึงสมัยประธานาธิบดีซูการ์โนซึ่งสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1966 ส่งผลให้สถานะทางการเมืองของชาวจีนในอินโดนีเซีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านสิทธิความเป็นพลเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองเปลี่ยนแปลงอย่างมากตามสภาพทางการเมืองที่ผกผันของอินโดนีเซีย ส่งผลให้ชาวจีนในอินโดนีเซียต้องหันมาให้ความสนใจกับสถานภาพทางการเมืองของตนมากขึ้น พวกเขารู้สึกไม่มีความมั่นคงจากความคลุมเครือของสถานภาพความเป็นพลเมือง ความไม่เท่าเทียมกันกับชาวอินโดนีเซียพื้นเมืองยังทำให้ชาวจีนต้องเรียกร้องสิทธิของตน พวกเขาเรียกร้องสิทธิและการพิทักษ์ผลประโยชน์ของชาวจีนในอินโดนีเซียผ่านนักเคลื่อนไหวและองค์กร โดยเฉพาะองค์กรบาเปอร์กีen
dc.description.abstractalternativeThis research is a study of the relations between the political changes and the status of the Chinese in Indonesia. It focuses on the ideas and activities of Indonesian Chinese political organizations and activities from 1922-1966. The research shows that the political vicissitudes of Indonesia—since Japanese occupation, the end of the Dutch colonization, and the establishment of the Indonesian Republic till the collapse of the Sukarno regime in 1966—had a great impact on the political status of the Chinese in Indonesia, especially in terms of citizenship and political participation. Consequently, they were increasingly forced to struggle for their political status. They felt insecure from the ambiguities of their citizenship. Moreover, the inequality between the Chinese minority and the Indonesians was a major drive for them to demand their rights. They tried to demand and exercise their rights through their individual advocates and organizations, notably the Baperki.en
dc.format.extent1708034 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1342-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectชาวจีน -- อินโดนีเซียen
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองen
dc.subjectอินโดนีเซีย -- การเมืองและการปกครองen
dc.titleองค์กรและนักเคลื่อนไหวทางการเมืองชาวจีนอินโดนีเซีย ค.ศ. 1942-1966en
dc.title.alternativeIndonesian Chinese political organizations and activists, 1942-1966en
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBhawan.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1342-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tiyarat_po.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.