Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30756
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมเอก อินทนากรวิวัฒน์-
dc.contributor.authorภูริ นิโครวนจำรัส-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-02T09:26:10Z-
dc.date.available2013-05-02T09:26:10Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30756-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการกระจายไฟล์สำหรับเครือข่ายไร้สายแบบแอดฮอกบนยานพาหนะเป็นหัวข้อที่น่าสนใจในวงการวิจัยทางด้านเครือข่าย วิธีหนึ่งที่ถูกนำมาใช้คือการนำการเข้ารหัสทางเครือข่ายมาช่วยในการกระจายไฟล์ ซึ่งได้ถูกพิสูจน์แล้วว่าสามารถแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงโทโพโลจี และการขาดความต่อเนื่องในการสื่อสาร งานวิจัยที่ผ่านมาทำงานบนการสื่อสารแบบหนึ่งก้าวกระโดด กล่าวคือโหนดจะดาวโหลดไฟล์จากเพื่อนบ้านเท่านั้น ซึ่งมีปัญหาเกิดขึ้นในกรณีที่เพื่อนบ้านไม่มีชิ้นส่วนที่เป็นประโยชน์ เช่น อยู่ในสถานการณ์ที่โหนดมีความหนาแน่นน้อย และ กรณีที่โหนดมีความสนใจในการดาวโหลดไฟล์ต่ำ วิทยานิพนธ์นี้ได้ทำการออกแบบและพัฒนาวิธีการกระจายไฟล์โดยการร้องขอแบบปรับได้เพื่อปรับปรุงความเร็วและประสิทธิภาพของการกระจายไฟล์ที่ใช้การเข้ารหัสทางเครือข่าย โดยที่โหนดสามารถปรับตัวเพื่อร้องขอไฟล์ หากโหนดไม่ได้รับชิ้นส่วนเข้ารหัสที่เป็นประโยชน์ในระยะเวลานับถอยหลัง ซึ่งระยะเวลานับถอยแปรผันตรงจากค่าที่ได้จากการวัดคำนวณจากการวัดอัตราการเข้าใหม่ของโหนด ในขณะที่จำนวนชิ้นที่ร้องขอเป็นสัดส่วนตรงกันข้าม จากผลการทดลองพบว่างานวิจัยนี้สามารถลดระยะเวลาในการดาวโหลดไฟล์ และเพิ่มประสิทธิภาพได้en
dc.description.abstractalternativeContent dissemination in Vehicular Ad-Hoc Networks (VANET) has attracted wide interest in the research community. The use of network coding for file sharing has been proved to overcome several problems such as highly dynamic topology and intermittent connectivity. Prior works have originally been designed to work well even with only single hop communication. However, the previous works are not entirely suitable for networks with low node density or low percentage of interested nodes. This thesis proposes an adaptive request mechanism to improve the speed and efficiency of network-coded file distribution in such networks. Each node adaptively requests coded pieces of the file from the source when it does not receive any useful coded piece from its current neighbors within a calculated timeout. Our adaptive timer is proportional to the rate of new incoming neighbors whereas the number of requested pieces is inversely proportional. Our result can significantly improve the efficiency and download latency under investigated scenarios.en
dc.format.extent3452891 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.259-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครือข่ายแอดฮอกen
dc.subjectเครือข่ายแอดฮอกของยานพาหนะen
dc.subjectการแบ่งปันแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์en
dc.subjectโปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์en
dc.subjectการเข้ารหัสลับข้อมูลen
dc.titleการปรับปรุงการกระจายแฟ้มข้อมูลแบบเข้ารหัสทางเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการหาเส้นทางen
dc.title.alternativeEfficiency improvement for network coded file distribution with routingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorintanago@cp.eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.259-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phuri_ni.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.